กระทดกระทวย คือ
- ว. ไหวน้อย ๆ แต่พองาม, กิริยาย่างกรายอย่างนวยนาด.
- ก: พยัญชนะตัวต้น เป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กก.
- กร: ๑ กอน น. ผู้ทำ, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. ( ป. ). ๒ กอน น. มือ (มักใช้ในบทประพันธ์); แขน เช่น
- กระ: ๑ น. ชื่อเต่าทะเลชนิด Eretmochelys imbricata ในวงศ์ Cheloniidae หลังเป็นเกล็ดแผ่นโต ๆ
- กระทด: ( โบ ) ว. คด, ไม่ตรง, เช่น คอกระทดคดคอดหยัก รวดท้าย. ( ตำราช้างคำโคลง ), ไม้กระทดกระทำทอน ทุกที่ กงนา. ( โลกนิติ ).
- ร: พยัญชนะตัวที่ ๓๕ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กน, ถ้าเขียนตัว ร ควบกัน ๒ ตัว เรียกว่า ร หัน ร ตัวหน้าทำหน้าที่เหมือนไม้หันอากาศ ร
- ระ: ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
- ระทด: ก. สลดใจ, มีจิตใจหวั่นไหวเพราะความโศกสลด, มักใช้เข้าคู่กับคำอื่น เช่น ระทดท้อ ระทดใจ.
- ท: ๑ พยัญชนะตัวที่ ๒๓ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น ประมาท บท ธาตุบิสมัท. ๒ ใช้ประสมกับตัว ร
- ทด: ก. กันไว้, กั้นไว้, ทำให้น้ำท่วมท้นขึ้นมาด้วยทำนบเป็นต้น เช่น ทดน้ำ; แทน, เป็นคำใช้เข้าคู่กันว่า ทดแทน เนื้อความกลายเป็นตอบแทน, บางทีใช้ ทด
- ด: พยัญชนะตัวที่ ๒๐ นับเป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กด.
- ดก: ว. มาก, มากกว่าปรกติ, (มักใช้แก่สิ่งที่เกิดมีขึ้นตามธรรมชาติ) เช่น ต้นไม้ออกดอกออกผลมากกว่าปรกติ เรียกว่า ดอกดก ผลดก, ไก่ที่ไข่มากกว่าปรกติ
- กระทวย: ใช้เข้าคู่กับคำ กระทด เป็น กระทดกระทวย หรือใช้เข้าคู่กับคำ กระทิก เป็น กระทิกกระทวย.
- ระทวย: ๑ ว. อ่อนช้อย, อ่อนใจ. ๒ ก. ระทด, มักใช้เข้าคู่กับคำ ระทด เป็น ระทดระทวย.
- ทวย: ๑ น. หมู่, เหล่า, เช่น ทวยราษฎร์. ๒ น. ไม้เท้าแขนที่รับเต้า บางทีทำเป็นรูปนาค, เรียกว่า คันทวย ก็มี;
- ว: พยัญชนะตัวที่ ๓๗ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นพยัญชนะต้น เช่น วัน วา ใช้ควบกล้ำกับพยัญชนะตัวอื่นบางตัว เช่น กว่า ความ และใช้เป็นตัวสะกดในแม่เกอว เช่น
- ย: พยัญชนะตัวที่ ๓๔ เป็นพวกอักษรต่ำ เป็นได้ทั้งตัวต้นและตัวสะกดในแม่เกย.