กระโถนฤๅษี คือ
สัทอักษรสากล: [kra thōn reū sī]การออกเสียง: "กระโถนฤๅษี" อังกฤษ
- น. ชื่อพืชเบียนชนิด Sapria himalayana Griff. ในวงศ์ Rafflesiaceae เกิดตามป่าดิบ เกาะเบียนที่รากเครือเขาน้ำ (Tetrastigma lanceolarium Planch.) ดอกรูปกระโถนปากแตร กลิ่นเหม็น กลีบดอกสีน้ำตาลแดงประเหลือง ใช้ทำยาได้.
- ก: พยัญชนะตัวต้น เป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กก.
- กร: ๑ กอน น. ผู้ทำ, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. ( ป. ). ๒ กอน น. มือ (มักใช้ในบทประพันธ์); แขน เช่น
- กระ: ๑ น. ชื่อเต่าทะเลชนิด Eretmochelys imbricata ในวงศ์ Cheloniidae หลังเป็นเกล็ดแผ่นโต ๆ
- กระโถน: น. ภาชนะสำหรับบ้วนหรือทิ้งของต่าง ๆ ที่ไม่ต้องการ. ( เทียบ ข. กนฺโถรฺ).
- ร: พยัญชนะตัวที่ ๓๕ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กน, ถ้าเขียนตัว ร ควบกัน ๒ ตัว เรียกว่า ร หัน ร ตัวหน้าทำหน้าที่เหมือนไม้หันอากาศ ร
- ระ: ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
- โถ: ๑ น. ภาชนะโดยมากทำด้วยดินเผาหรือกระเบื้องเคลือบปากกว้าง มีฝาปิด, เรียกสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น โกศโถ. ๒ อ.
- ถ: พยัญชนะตัวที่ ๒๒ นับเป็นพวกอักษรสูง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต เช่น รถ ปรารถนา.
- น: ๑ พยัญชนะตัวที่ ๒๕ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กน. ๒ น. ชื่อคณะฉันท์ มีลหุล้วน เรียกว่า น คณะ, ย่อจากคำว่า นภ (ฟ้า).
- นฤ: นะรึ- ว. ไม่มี, ออก, มักใช้นำหน้าศัพท์อื่น เช่น นฤมล ว่า ไม่มีมลทิน, นฤโฆษ ว่า ดังออก. (คำนี้เขียนแผลงมาจาก นิ ในบาลี ซึ่งสันสกฤต เป็น นิสฺ).
- ฤ: ๑ รึ เป็นรูปสระในภาษาสันสกฤต เมื่อไทยนำมาใช้ออกเสียงเป็น ริ รึ หรือ เรอ เช่น ฤทธิ์ ฤดู ฤกษ์. ๒ รึ ( กลอน ) ว. หรือ, ไม่, เช่น จะมีฤ ว่า
- ฤๅ: ๑ รือ เป็นรูปสระในภาษาสันสกฤต ซึ่งเป็นเสียงยาวของ ฤ เมื่อไทยนำมาใช้ออกเสียงเป็น รือ เช่น ฤๅษี. ๒ รือ ว. หรือ, อะไร, ไม่ใช่;
- ฤๅษี: น. ฤษี, นักบวชพวกหนึ่ง มีมาก่อนพุทธกาล สละบ้านเรือนออกไปบำเพ็ญพรตแสวงหาความสงบ.
- ษ: พยัญชนะตัวที่ ๓๙ เป็นพวกอักษรสูง ใช้ได้ทั้งเป็นพยัญชนะตัวต้นและตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาสันสกฤต เช่น ษมา เศรษฐี และคำว่า อังกฤษ.
- ี: สีน้ําตาลแดง ตําแหน่งประธานาธิบดี ดินเหนียวสีน้ําตาลแดงใช้ในการปั้น โจมตีทางอากาศอย่างรวดเร็วและรุนแรง