กฤดาญชลี คือ
กฺริดานชะลี
ก. ยกมือไหว้. (ส.; ป. กตญฺชลี = มีกระพุ่มมืออันทำแล้ว), ในบทกลอนใช้แผลงเป็นรูปต่าง ๆ คือ กฤดาอัญชลี กฤษฎา กฤษฎาญ กฤษฎาญชลี กฤษฎาญชุลี กฤษฎาญชลิต กฤษฎาญชวลิตวา กฤษฎาญชวลิศ กฤษฎาญชวเลศ.
- ก: พยัญชนะตัวต้น เป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กก.
- กฤด: กฺริดะ- ( แบบ ) ว. อันกระทำแล้ว (ใช้ประกอบเป็นส่วนหน้าของสมาส), ในบทกลอนแผลงเป็น กฤษฎา ก็มี. ( ส. กฺฤต; ป. กต).
- กฤดา: กฺริดา, กฺริดากาน ( โบ ; กลอน ) น. บารมีอันยิ่งที่ทำไว้ (กร่อนมาจาก กฤดาธิการ) เช่น ทรงพระกฤดาเดชานุภาพยิ่งทวีขึ้น. ( พงศ. อยุธยา ),
- ฤ: ๑ รึ เป็นรูปสระในภาษาสันสกฤต เมื่อไทยนำมาใช้ออกเสียงเป็น ริ รึ หรือ เรอ เช่น ฤทธิ์ ฤดู ฤกษ์. ๒ รึ ( กลอน ) ว. หรือ, ไม่, เช่น จะมีฤ ว่า
- ด: พยัญชนะตัวที่ ๒๐ นับเป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กด.
- ดา: ๑ น. ชื่อแมลงพวกมวน มีหลายสกุล, ชนิดที่ตัวกว้าง รูปไข่ แบน เมื่อพับปีก ปีกจะแนบไปกับสันหลัง ความยาวจากหัวถึงปลายปีก ๖.๒-๘.๒ เซนติเมตร
- ญ: พยัญชนะตัวที่ ๑๓ นับเป็นพวกอักษรต่ำ และเป็นตัวที่สุดของวรรคที่ ๒ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กนในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น ปัญญา สัญชาติ ผจญ
- ช: ๑ พยัญชนะตัวที่ ๑๐ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น ราช คช กริช แซนด์วิช. ๒ ในภาษาบาลีและสันสกฤต
- ชล: ชน, ชนละ- น. น้ำ. ( ป. , ส. ).
- ชลี: ( กลอน ) ก. อัญชลี, ไหว้, เช่น ชลีกรงอนงามกิริยา. ( อิเหนา ). ( ตัดมาจาก อัญชลี).
- ล: พยัญชนะตัวที่ ๓๖ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กนอย่างตัว น ในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น กาล พาล ฟุตบอล.
- ลี: ก. ไป.
- ี: สีน้ําตาลแดง ตําแหน่งประธานาธิบดี ดินเหนียวสีน้ําตาลแดงใช้ในการปั้น โจมตีทางอากาศอย่างรวดเร็วและรุนแรง