กล่าวโทษ คือ
สัทอักษรสากล: [klāo thōt]การออกเสียง: กล่าวโทษ การใช้"กล่าวโทษ" อังกฤษ"กล่าวโทษ" จีน
- ก. แจ้งว่ากระทำผิด.
- ก: พยัญชนะตัวต้น เป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กก.
- กล: กน, กนละ- น. การลวงหรือล่อลวงให้หลงหรือให้เข้าใจผิดเพื่อให้ฉงนหรือเสียเปรียบ เช่น เล่ห์กล, เล่ห์เหลี่ยม เช่น กลโกง;
- กล่า: กฺล่า ( โบ ; กลอน ) ก. ควัก, แขวะ, แหวะ, เช่น อีกกรบอกหววมึงกูจะผ่า กูจะกล่าเอาขวนนหววมึงออกแล. ( ม. คำหลวง ชูชก).
- กล่าว: กฺล่าว ก. บอก, แจ้ง, พูด, เช่น กล่าวคำเท็จ; แสดง เช่น กล่าวเกลาอรรถเอมอร. ( ม. คำหลวง ทานกัณฑ์); ขับร้อง เช่น จะกล่าวกลอนแก้ไข. ( อิเหนา );
- ล: พยัญชนะตัวที่ ๓๖ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กนอย่างตัว น ในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น กาล พาล ฟุตบอล.
- ล่า: ก. ถอย (ใช้แก่คนจำนวนมาก ๆ) เช่น ล่าทัพ, บางทีก็ใช้เข้าคู่กันเป็น ล่าถอย เช่น กองทัพต้องล่าถอย; เที่ยวติดตามหา (เพื่อจับ ฆ่า หรือเพื่อการกีฬา
- ว: พยัญชนะตัวที่ ๓๗ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นพยัญชนะต้น เช่น วัน วา ใช้ควบกล้ำกับพยัญชนะตัวอื่นบางตัว เช่น กว่า ความ และใช้เป็นตัวสะกดในแม่เกอว เช่น
- โท: ว. สอง, ชั้นที่ ๒ (ใช้เกี่ยวกับลำดับชั้นหรือขั้นของยศ ตำแหน่ง คุณภาพ หรือ วิทยฐานะ ต่ำกว่าเอก สูงกว่าตรี) เช่น ร้อยโท ข้าราชการชั้นโท ปริญญาโท;
- โทษ: โทด, โทดสะ- น. ความไม่ดี, ความชั่ว, เช่น โทษแห่งความเกียจคร้าน, ความผิด เช่น กล่าวโทษ, ผลแห่งความผิดที่ต้องรับ เช่น ถูกลงโทษ, ผลร้าย เช่น
- ท: ๑ พยัญชนะตัวที่ ๒๓ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น ประมาท บท ธาตุบิสมัท. ๒ ใช้ประสมกับตัว ร
- ษ: พยัญชนะตัวที่ ๓๙ เป็นพวกอักษรสูง ใช้ได้ทั้งเป็นพยัญชนะตัวต้นและตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาสันสกฤต เช่น ษมา เศรษฐี และคำว่า อังกฤษ.