การฝึกฝนร่างกาย คือ
- การฝึกซ้อม
- ก: พยัญชนะตัวต้น เป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กก.
- กา: ๑ น. ชื่อนกชนิด Corvus macrorhynchos ในวงศ์ Corvidae ตัวดำ ร้องกา ๆ, อีกา ก็เรียก; ชื่อดาวฤกษ์ธนิษฐา เช่น แม้นดาวกามาใกล้ในมนุษย์. ( อภัย ).
- การ: ๑ น. งาน, สิ่งหรือเรื่องที่ทำ, มักใช้เข้าคู่กับคำ งาน เช่น การงาน เป็นการเป็นงาน ได้การได้งาน, ถ้าอยู่หน้านาม หมายความว่า เรื่อง, ธุระ, หน้าที่,
- การฝึก: การฝึกฝน การฝึกหัด การอบรม
- การฝึกฝน: n. การเพียรฝึก, การพยายามฝึก ชื่อพ้อง: การฝึกหัด, การฝึกอบรม ตัวอย่างการใช้: ทหารได้รับการฝึกฝนในการบินผาดโผน
- ร: พยัญชนะตัวที่ ๓๕ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กน, ถ้าเขียนตัว ร ควบกัน ๒ ตัว เรียกว่า ร หัน ร ตัวหน้าทำหน้าที่เหมือนไม้หันอากาศ ร
- ฝ: พยัญชนะตัวที่ ๒๙ นับเป็นพวกอักษรสูง.
- ฝึก: ก. ทำ (เช่นบอก แสดง หรือปฏิบัติ เป็นต้น) เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจจนเป็นหรือมีความชำนาญ เช่น ฝึกทหาร ฝึกกายบริหาร ฝึกงาน.
- ฝึกฝน: ก. เพียรฝึก, พยายามฝึก, เช่นฝึกฝนตนเองให้ชำนาญในการเย็บปักถักร้อย.
- ฝน: ๑ น. น้ำที่ตกลงมาจากเมฆเป็นเม็ด ๆ; ลักษณนามใช้นับอายุ หมายความว่า รอบปี, ขวบปี, เช่น ควาย ๓ ฝน คือ ควายที่มีอายุ ๓ ปี เขาผ่านร้อนผ่านหนาวมา ๑๘
- น: ๑ พยัญชนะตัวที่ ๒๕ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กน. ๒ น. ชื่อคณะฉันท์ มีลหุล้วน เรียกว่า น คณะ, ย่อจากคำว่า นภ (ฟ้า).
- นร: นอระ- น. คน, ชาย, เพศหญิงใช้ว่า นรี หรือ นารี, นิยมใช้เป็นคำหน้าสมาส เช่น นรเทพ นรสิงห์. ( ป. , ส. ).
- ร่า: ว. อาการที่แสดงให้เห็นว่าเบิกบานเต็มที่ เช่น หัวเราะร่า ยิ้มร่า; เปิดเต็มที่ (ใช้แก่อาการที่เห็นจะแจ้งหรือเปิดเผยเต็มที่) เช่น ประตูเปิดร่า
- ร่าง: น. รูปทรง, โครง, ตัว, เช่น เอวบางร่างน้อย ร่างเล็ก ร่างล่ำสัน. ก. ทำรูปโครงขึ้นเพื่อลอก คัด หรือแต่งเป็นต้นในภายหลัง เช่น ร่างพระราชบัญญัติ
- ร่างกาย: น. ตัวตน.
- ง: พยัญชนะตัวที่ ๗ นับเป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กง.
- งก: ๑ ก. แสดงอาการอยากได้หรือไม่อยากเสียจนเกินควร. ว. มีอาการสั่นอย่างคนแก่หรืออย่างกลัวหรืออย่างหนาวมาก. ๒ น.
- กาย: กายยะ- น. ตัว เช่น ไม่มีผ้าพันกาย, และมักใช้เข้าคู่กับคำ ร่าง เป็น ร่างกาย, ใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส หมายความว่า หมู่, พวก, เช่น พลกาย = หมู่ทหาร.
- ย: พยัญชนะตัวที่ ๓๔ เป็นพวกอักษรต่ำ เป็นได้ทั้งตัวต้นและตัวสะกดในแม่เกย.