คนทีเขมา คือ
คนทีขะเหฺมา
น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Vitex negundo L. ในวงศ์ Labiatae คล้ายต้นคนทีสอ แต่ใบเป็นใบประกอบ มีใบย่อย ๓-๕ ใบ และมีขนาดใหญ่กว่า ดอกสีขาว ปลูกไว้ตามบ้าน ใช้ทำยาได้, ปัตตานีเรียก กุโนกามอ.
- ค: พยัญชนะตัวที่ ๔ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กกในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น โรค มรรค มารค เทคนิค.
- คน: ๑ น. มนุษย์. ๒ ก. กิริยาที่เอามือหรือสิ่งอื่นกวนเพื่อทำสิ่งที่นอนก้นหรือที่เกาะกันอยู่เป็นกลุ่มเป็นก้อนให้กระจายขยายตัว หรือกวนสิ่งต่าง ๆ
- คนที: ๑ คน- น. กุณฑี, หม้อน้ำ, หม้อน้ำมีหู, เต้าน้ำ. ๒ คน- น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Vitex trifolia L. var. simplicifolia Cham. ในวงศ์ Labiatae
- น: ๑ พยัญชนะตัวที่ ๒๕ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กน. ๒ น. ชื่อคณะฉันท์ มีลหุล้วน เรียกว่า น คณะ, ย่อจากคำว่า นภ (ฟ้า).
- นท: นด ( แบบ ) น. ผู้บันลือ, ผู้ร้อง, ผู้ลั่น; แม่น้ำ, ลำน้ำ, เช่น ชมพูนท (แปลว่า เกิดในแม่น้ำชมพูนที คือ ทองคำบริสุทธิ์). ( ป. , ส. ).
- นที: นะ- ( แบบ ) น. แม่น้ำ. ( ป. ).
- ท: ๑ พยัญชนะตัวที่ ๒๓ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น ประมาท บท ธาตุบิสมัท. ๒ ใช้ประสมกับตัว ร
- ที: ๑ น. ครั้ง, คราว, หน, เช่น ทีละน้อย ทีละคน; ใช้เป็นลักษณนามบอกจำนวนครั้ง เช่น เฆี่ยน ๓ ที นาฬิกาตี ๕ ที. ๒ น. ท่าทาง, ชั้นเชิง, โอกาส, เช่น
- ี: สีน้ําตาลแดง ตําแหน่งประธานาธิบดี ดินเหนียวสีน้ําตาลแดงใช้ในการปั้น โจมตีทางอากาศอย่างรวดเร็วและรุนแรง
- เข: ๑ ว. เหล่น้อย (ใช้แก่ตา). ๒ ดู แกแล .
- เขม: เขมะ-, เข-มา น. เกษม, ความสบายใจ, ความพ้นภัย. ( ป. ; ส. เกฺษม).
- เขมา: ๑ เขมะ-, เข-มา น. เกษม, ความสบายใจ, ความพ้นภัย. ( ป. ; ส. เกฺษม). ๒ ขะเหฺมา น. โกฐเขมา. ( ดู โกฐเขมา ). ( ข. เขฺมา ว่า ดำ).
- ข: พยัญชนะตัวที่ ๒ เป็นพวกอักษรสูง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กกในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต.
- ขม: ๑ ว. รสอย่างหนึ่งอย่างรสสะเดาหรือบอระเพ็ด. ๒ น. (๑) ชื่อไม้ล้มลุกในสกุล Amaranthus วงศ์ Amaranthaceae มีหลายชนิด เช่น ผักขมหนาม ( A.
- ขมา: ขะมา ก. กล่าวคำขอโทษ เช่น ไปขมาศพ. น. การยกโทษให้เมื่ออีกฝ่ายหนึ่งยอมรับผิด เช่น ขอขมา, ษมา ก็ใช้. ( ป. ; ส. กฺษมา).
- ม: พยัญชนะตัวที่ ๓๓ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กม.
- มา: ๑ น. พระจันทร์. ( ป. ; ส. มาสฺ). ๒ ก. เคลื่อนออกจากที่เข้าหาตัวผู้พูด เช่น มานี่ มาหาฉันหน่อย, ตรงกันข้ามกับ ไป. ว.