ความภาคภูมิใจ คือ
สัทอักษรสากล: [khwām phāk phūm jai]การออกเสียง: ความภาคภูมิใจ การใช้"ความภาคภูมิใจ" อังกฤษ
- n.
การรู้สึกว่ามีเกียรติยศ
ชื่อพ้อง: ความภูมิใจ, ความภาคภูมิ คำตรงข้าม: ความท้อใจ, ความท้อแท้, ความสิ้นหวัง
ตัวอย่างการใช้: ถ้าเด็กถูกบังคับหรือกดดันหรือมีข้อห้ามมากเกินไป เขาจะเป็นผู้ใหญ่ที่ขี้กังวล ขาดความภาค+모두 보이기...
- ค: พยัญชนะตัวที่ ๔ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กกในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น โรค มรรค มารค เทคนิค.
- ความ: คฺวาม น. เรื่อง เช่น เนื้อความ เกิดความ; อาการ เช่น ความทุกข์ ความสุข; คดีที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล; คำนำหน้ากริยาหรือวิเศษณ์เพื่อแสดงสภาพ เช่น
- ความภาคภูมิ: n. ความรู้สึกว่ามีเกียรติยศ ชื่อพ้อง: ความภาคภูมิใจ ตัวอย่างการใช้:
- ว: พยัญชนะตัวที่ ๓๗ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นพยัญชนะต้น เช่น วัน วา ใช้ควบกล้ำกับพยัญชนะตัวอื่นบางตัว เช่น กว่า ความ และใช้เป็นตัวสะกดในแม่เกอว เช่น
- วา: ๑ น. มาตราวัดตามวิธีประเพณี เท่ากับ ๔ ศอก มีอัตราเท่ากับ ๒ เมตร, อักษรย่อว่า ว. ก. กิริยาที่กางแขนเหยียดตรงออกทั้ง ๒ ข้าง. ๒ น.
- วาม: วามะ- ว. ซ้าย, ข้างซ้าย. ( ป. , ส. ). ๑ ว. เป็นแสงเรือง ๆ อย่างแสงหิ่งห้อย เช่น น้ำเคี้ยวยูงว่าเงี้ยว ยูงตาม ทรายเหลือบหางยูงงาม ว่าหญ้า
- ม: พยัญชนะตัวที่ ๓๓ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กม.
- ภ: พยัญชนะตัวที่ ๓๒ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กบในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต เช่น ปรารภ ลาภ.
- ภา: น. แสงสว่าง, รัศมี. ( ป. , ส. ).
- ภาค: พาก, พากคะ- น. ส่วน เช่น ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ, ฝ่าย เช่น ภาครัฐบาล ภาคเอกชน ภาคเหนือ ภาคใต้, บั้น, ตอน, เช่น หนังสือภูมิศาสตร์ ภาคต้น
- ภาคภูมิ: พากพูม ว. มีสง่า, ผึ่งผาย, เช่น เขาแต่งตัวภาคภูมิ ท่าทางเขาภาคภูมิ.
- ภาคภูมิใจ: ก. กระหยิ่มใจ, รู้สึกว่ามีเกียรติยศ, เช่น เขาภาคภูมิใจในความสำเร็จ.
- ภู: ๑ น. ดิน, แผ่นดิน, โลก. ( ป. , ส. ). ๒ น. เนินที่สูงขึ้นเป็นจอม, เขา.
- ภูม: น. บ้าน. ( ข. ).
- ภูมิ: ๑ พูม, พูมิ-, พูมมิ- น. แผ่นดิน, ที่ดิน. ๒ พูม น. พื้น, ชั้น, พื้นเพ; ความรู้ เช่น อวดภูมิ อมภูมิ. ๓ พูม ว. สง่า, โอ่โถง, องอาจ,
- ภูมิใจ: ก. กระหยิ่มใจ, รู้สึกว่ามีเกียรติยศ.
- ู: การเต้นในจังหวะเพลงเร็ว
- มิ: ๑ ว. ไม่ เช่น มิทราบ มิควร มิบังอาจ. ๒ ก. เฉย, ไม่ค่อยพูดจา, เช่น รามสูรได้ยินสิ้นสติลงนั่งมิจะทำกระไรได้. (บทระบำตลก พระราชนิพนธ์ ร.๕).
- ิ: ชุดที่เสื้อและกางเกงเย็บติดเป็นชิ้นเดียวกัน มนุษยชาติ แพนงเชิง
- ใจ: น. สิ่งที่ทำหน้าที่รู้ รู้สึก นึก และคิด เช่น ใจก็คิดว่าอย่างนั้น, หัวใจ เช่น ใจเต้น, ลมหายใจ เช่น กลั้นใจ อึดใจ หายใจ, ความรู้สึกนึกคิด เช่น ใจคด
- จ: พยัญชนะตัวที่ ๘ เป็นตัวต้นวรรคที่ ๒ นับเป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น กิจ วินิจฉัย ตำรวจ จอร์จ.