ค่อน คือ
สัทอักษรสากล: [khøn] [khǿn]การออกเสียง: ค่อน การใช้"ค่อน" อังกฤษ"ค่อน" จีน
- ๑
ก. ติ, ว่าให้สะเทือนใจ.
๒
ว. มากกว่าครึ่ง, เกือบเต็ม, เช่น ข้าวค่อนหม้อ นั่งคอยมาค่อนวัน.
๓
ก. ตัด, ทอน, เช่น บั่นเรือขาดเปนท่อน ค่อนพวนขาดเปนทุ่น. (ตะเลงพ่าย ); ตี, ทุบ, ข้อน ก็ใช้.
- ค: พยัญชนะตัวที่ ๔ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กกในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น โรค มรรค มารค เทคนิค.
- ค่อ: ( ถิ่น-อีสาน ) น. ปลาช่อน. ( ดู ช่อน ).
- อ: ๑ พยัญชนะตัวที่ ๔๓ เป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นพยัญชนะตัวต้นได้อย่างตัวอื่น ๆ เช่น อา อก องค์, ใช้นำพยัญชนะเดี่ยวได้อย่างอักษรกลางอื่น ๆ เช่น อนึ่ง
- อน: อะนะ- เป็นคำปฏิเสธ แปลว่า ไม่, ไม่ใช่, ใช้ประกอบหน้าศัพท์บาลีและสันสกฤตที่ขึ้นต้นด้วยสระ เช่น อาทร = เอื้อเฟื้อ, อนาทร = ไม่เอื้อเฟื้อ. ( ดู อ ๒
- น: ๑ พยัญชนะตัวที่ ๒๕ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กน. ๒ น. ชื่อคณะฉันท์ มีลหุล้วน เรียกว่า น คณะ, ย่อจากคำว่า นภ (ฟ้า).