ดุลย- คือ
สัทอักษรสากล: [dun la] [dun ya]การออกเสียง: "ดุลย-" อังกฤษ
ดุนละยะ-, ดุนยะ-
ว. เท่ากัน, เสมอกัน, ทัดเทียมกัน. (ป., ส.).
- ด: พยัญชนะตัวที่ ๒๐ นับเป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กด.
- ดุ: ก. ว่ากล่าวหรือทักท้วงด้วยความโกรธหรือไม่พอใจเพราะมีความผิดหรือไม่อยู่ในโอวาทเป็นต้น, โดยปริยายหมายความว่า มีอันตรายมาก, มีคนเสียชีวิตมาก, เช่น
- ดุล: ดุน, ดุนละ- น. ตราชู, คันชั่ง, มาตราชั่งน้ำหนักโบราณ เช่น ทองคำหนัก ๒๐ ชั่ง เรียกว่า ดุลหนึ่ง; ความเท่ากัน, ความเสมอกัน, เช่น
- ดุลย: ดุนละยะ-, ดุนยะ- ว. เท่ากัน, เสมอกัน, ทัดเทียมกัน. ( ป. , ส. ).
- ุ: คําตัดสินสุดท้าย
- ล: พยัญชนะตัวที่ ๓๖ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กนอย่างตัว น ในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น กาล พาล ฟุตบอล.
- ย: พยัญชนะตัวที่ ๓๔ เป็นพวกอักษรต่ำ เป็นได้ทั้งตัวต้นและตัวสะกดในแม่เกย.