ธนาคารแห่งประเทศไทย คือ
- n.
หน่วยงานกลางที่ทำหน้าที่กำกับดูแลการดำเนินธุรกิจธนาคารและการเงิน ชื่อพ้อง: ธนาคารชาติ
ตัวอย่างการใช้: ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นธนาคารของชาติ
clf.: แห่ง
- ธ: ๑ พยัญชนะตัวที่ ๒๔ เป็นพวกอักษรต่ำ และใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น สุเมธ มคธ. ๒ ทะ ( กลอน ) ส. ท่าน, เธอ,
- ธน: ทน, ทะนะ- น. ทรัพย์สิน. ( ป. , ส. ).
- ธนาคาร: น. นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมาย บริษัทจำกัด หรือ บริษัทมหาชนจำกัด ที่ใช้ชื่อหรือคำแสดงชื่อว่า ธนาคาร
- น: ๑ พยัญชนะตัวที่ ๒๕ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กน. ๒ น. ชื่อคณะฉันท์ มีลหุล้วน เรียกว่า น คณะ, ย่อจากคำว่า นภ (ฟ้า).
- นา: ๑ น. พื้นที่ราบทำเป็นคันกั้นน้ำเป็นแปลง ๆ สำหรับปลูกข้าวเป็นต้น, พื้นที่มีลักษณะคล้ายนาสำหรับทำประโยชน์อื่น ๆ เรียกตามสิ่งที่ทำ เช่น นาเกลือ
- นาค: ๑ นาก, นากคะ- น. งูใหญ่มีหงอน เป็นสัตว์ในนิยาย. ( ป. , ส. ). ๒ นาก น. ชื่อชนเผ่าหนึ่งอยู่ในบริเวณเทือกเขานาค
- นาคา: ๑ นาก น. ชื่อชนเผ่าหนึ่งอยู่ในบริเวณเทือกเขานาค ทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอินเดีย และทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศพม่า มีหลายสาขา เช่น
- ค: พยัญชนะตัวที่ ๔ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กกในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น โรค มรรค มารค เทคนิค.
- คา: ๑ น. เครื่องจำคอนักโทษ ทำด้วยไม้. ๒ ก. ค้างอยู่, ติดอยู่, เช่น ข้าวคาปาก คาถ้วยคาชาม. ว. ยังไม่พ้นไปจากที่นั้น ๆ เช่น ยืนคาประตู สุกคาต้น
- ร: พยัญชนะตัวที่ ๓๕ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กน, ถ้าเขียนตัว ร ควบกัน ๒ ตัว เรียกว่า ร หัน ร ตัวหน้าทำหน้าที่เหมือนไม้หันอากาศ ร
- แห: ๑ น. ชื่อเครื่องจับปลาชนิดหนึ่ง ถักเป็นตาข่าย ใช้ทอดแผ่ลงในน้ำแล้วค่อย ๆ ดึงขึ้นมา. ๒ ( ถิ่น-ปักษ์ใต้, อีสาน ) ว. เปรียว, ไม่เชื่อง. ๓ (
- แห่: น. ขบวนที่ไปพร้อมกันด้วยวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง อาจมีการตกแต่งหรือมีดนตรีประกอบเป็นต้น เช่น แห่นาค แห่ขันหมาก แห่ศพ. ก.
- แห่ง: น. ที่, มักใช้ซ้อนกับคำอื่น ในคำว่า แห่งหนตำบลใด ตำแหน่งแห่งที่, ลักษณนาม เช่น มีที่ดินอยู่หลายแห่ง. บ. ของ เช่น หอสมุดแห่งชาติ.
- ห: พยัญชนะตัวที่ ๔๑ อยู่ในพวกอักษรสูง เช่น หา เห็นใช้นำอักษรต่ำที่เป็นอักษรเดี่ยวให้มีเสียงสูงและไม่ออกเสียงตัว ห เช่น หงอย หนา.
- ง: พยัญชนะตัวที่ ๗ นับเป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กง.
- ป: พยัญชนะตัวที่ ๒๗ เป็นพวกอักษรกลาง เป็นตัวสะกดในแม่กบในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น บาป เนปจูน, ตัว ป
- ปร: ปะระ-, ปอระ- ว. อื่น, ใช้เป็นบทหน้าสมาส เช่น ปรปักษ์ ปรโลก. ( ป. ).
- ประ: ปฺระ ใช้เติมหน้าคำอื่นเพื่อให้คำหนักแน่นขึ้น เช่น ชิด เป็น ประชิด, ท้วง เป็น ประท้วง; คำที่แผลงมาจาก ผ เช่น ผทม เป็น ประทม แล้วแผลง ประ เป็น บรร
- ประเทศ: น. บ้านเมือง, แว่นแคว้น; คำเพิ่มข้างหลังของคำเดิม เมื่อเพิ่มแล้วความหมายคงเดิม เช่น อุรประเทศ หทัยประเทศ. ( ส. ; ป. ปเทส); ( กฎ )
- ประเทศไทย: ไทย เมืองไทย กรุงสยาม ประเทศสยาม สยาม แหลมทอง ราชอาณาจักรไทย สยามประเทศ
- ระ: ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
- เท: ก. ตะแคงหรือเอียงภาชนะเพื่อให้สิ่งที่อยู่ในนั้นไหลลงไปหรือออกไป เช่น เทน้ำ เทขยะ, โดยปริยายหมายถึงกิริยาอาการคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ฝนตกลงมามาก ๆ
- เทศ: เทด, เทดสะ-, เทสะ ว. ต่างประเทศ เช่น เครื่องเทศ ม้าเทศ. น. ถิ่นที่, ท้องถิ่น, มักใช้เป็นส่วนหน้าสมาส.
- ท: ๑ พยัญชนะตัวที่ ๒๓ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น ประมาท บท ธาตุบิสมัท. ๒ ใช้ประสมกับตัว ร
- ทศ: ๑ ทด, ทดสะ- น. เรียกเหรียญทองสมัยรัชกาลที่ ๔ ชนิดหนึ่ง มีค่าเท่ากับ ๑ ใน ๑๐ ของชั่ง = ๘ บาท ว่า ทองทศ. ว. สิบ, มักใช้เป็นส่วนหน้าสมาส. ๒
- ศ: พยัญชนะตัวที่ ๓๘ เป็นพวกอักษรสูง ใช้ได้ทั้งเป็นพยัญชนะตัวต้นและเป็นตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาสันสกฤตและภาษาอื่น เช่น ศาลา อากาศ ไอศกรีม วงศ์.
- ไท: ๑ ( โบ ) น. ไทย เช่น ปีโถะหนไทกัดเหมา. ( จารึกสยาม ). ๒ น. ผู้เป็นใหญ่.
- ไทย: ไทยะ- ( แบบ ) ว. ควรให้, ใช้ประกอบเป็นคำนำหน้าสมาส. ( ป. เทยฺย). ๑ ไท น. ชื่อประเทศและชนชาติที่อยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- ย: พยัญชนะตัวที่ ๓๔ เป็นพวกอักษรต่ำ เป็นได้ทั้งตัวต้นและตัวสะกดในแม่เกย.