ปริมณฑล คือ
สัทอักษรสากล: [pa ri mon thon]การออกเสียง: ปริมณฑล การใช้"ปริมณฑล" อังกฤษ"ปริมณฑล" จีน
ปะริมนทน
น. วงรอบ; ความเรียบร้อย เช่น นุ่งห่มให้เป็นปริมณฑล. (ป.).
- ป: พยัญชนะตัวที่ ๒๗ เป็นพวกอักษรกลาง เป็นตัวสะกดในแม่กบในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น บาป เนปจูน, ตัว ป
- ปร: ปะระ-, ปอระ- ว. อื่น, ใช้เป็นบทหน้าสมาส เช่น ปรปักษ์ ปรโลก. ( ป. ).
- ปริ: ปะริ- เป็นอุปสรรคในภาษาบาลีและสันสกฤต, ใช้นำหน้าศัพท์อื่นแปลว่า รอบ เช่น ปริมณฑล. ๒ ปฺริ ก. แย้ม, ผลิ, แตกแต่น้อย.
- ร: พยัญชนะตัวที่ ๓๕ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กน, ถ้าเขียนตัว ร ควบกัน ๒ ตัว เรียกว่า ร หัน ร ตัวหน้าทำหน้าที่เหมือนไม้หันอากาศ ร
- ริ: ก. เริ่มคิดหรือทำแปลกจากปรกติ (มักใช้ในทางไม่ดี) เช่น ริสูบบุหรี่ ริเที่ยวกลางคืน, ริอ่าน ก็ว่า.
- ริม: น. ชาย, ขอบ, เช่น ริมคลอง ริมผ้า ริมโต๊ะ. บ. ใกล้, ชิด, เช่น นั่งริมหน้าต่าง. ว. ด้านนอก เช่น น้องนอนกลาง พี่นอนริม; ( ปาก ) เกือบ, จวน, เช่น
- ิ: ชุดที่เสื้อและกางเกงเย็บติดเป็นชิ้นเดียวกัน มนุษยชาติ แพนงเชิง
- ม: พยัญชนะตัวที่ ๓๓ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กม.
- มณฑล: มนทน น. วง เช่น สุริยมณฑล คือ วงรอบดวงอาทิตย์ จันทรมณฑล คือ วงรอบดวงจันทร์, บริเวณ เช่น มณฑลพิธี, เขตปกครองที่แบ่งออกเป็นส่วนใหญ่ ๆ;
- ณ: ๑ พยัญชนะตัวที่ ๑๙ นับเป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กนในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต เช่น คุณ บัณฑิต. ๒ นะ บ. ใน, ที่,
- ฑ: พยัญชนะตัวที่ ๑๗ นับเป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต เช่น ษัฑ.
- ล: พยัญชนะตัวที่ ๓๖ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กนอย่างตัว น ในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น กาล พาล ฟุตบอล.