ปากตำแย คือ
- ว. อาการที่ปากอยู่ไม่สุข ชอบพูด ชอบฟ้อง, ปากคัน หรือ ปากบอน ก็ว่า.
- ป: พยัญชนะตัวที่ ๒๗ เป็นพวกอักษรกลาง เป็นตัวสะกดในแม่กบในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น บาป เนปจูน, ตัว ป
- ปา: ก. ซัดไปด้วยอาการยกแขนขึ้นสูงแล้วเอี้ยวตัว; ( ปาก ) คำใช้แทนกิริยาได้หลายอย่างแล้วแต่คำประกอบที่ทำให้รู้ว่าเกินกว่าที่คาดคิด, มักใช้ว่า ปาขึ้นไป
- ปาก: น. ส่วนหนึ่งของร่างกายคนและสัตว์ อยู่ที่บริเวณใบหน้า มีลักษณะเป็นช่องสำหรับกินอาหารและใช้สำหรับเปล่งเสียงได้ด้วย; โดยปริยายหมายถึงส่วนต่าง ๆ
- ก: พยัญชนะตัวต้น เป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กก.
- ต: พยัญชนะตัวที่ ๒๑ นับเป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น จิต เมตตา ฟุต.
- ตำ: ก. ทิ่ม, แทง, เช่น หนามตำ; ใช้สากหรือสิ่งอื่นที่คล้ายคลึงเช่นนั้นทิ่มลงไปอย่างแรงเรื่อย ๆ เช่น ตำข้าว ตำน้ำพริก.
- ตำแย: ๑ น. ชื่อไม้ล้มลุกชนิด Laportea interrupta Chew ในวงศ์ Urticaceae มีขนตามลำต้นและใบ ถูกเข้าจะคันและเป็นผื่นตามผิวหนัง, ตำแยตัวเมีย หรือ
- ย: พยัญชนะตัวที่ ๓๔ เป็นพวกอักษรต่ำ เป็นได้ทั้งตัวต้นและตัวสะกดในแม่เกย.