พลอน คือ
พฺลอน
ก. ปอกให้มีเปลือกติดอยู่บ้าง เช่น พลอนมะพร้าว, เรียกมะพร้าวที่ปอกแล้วเช่นนั้นว่า มะพร้าวพลอน, ปล้อน.
ว. ชอนไป, พรุน, ย่อยยับ.
- พ: พยัญชนะตัวที่ ๓๐ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กบในคำที่มาจากบาลีและสันสกฤต เช่น ภพ ภาพ สรรพ ผลลัพธ์.
- พล: พน, พนละ-, พะละ- น. กำลัง, มักใช้ประกอบคำอื่น เช่น พระทศพล อันเป็นพระนามพระพุทธเจ้า หมายความว่า ทรงมีพระญาณอันเป็นกำลัง ๑๐ ประการ มี ฐานาฐานญาณ
- พลอ: พฺลอ ( ถิ่น-ปักษ์ใต้ ) ก. ฝานเอาเปลือกแข็งออก.
- ล: พยัญชนะตัวที่ ๓๖ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กนอย่างตัว น ในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น กาล พาล ฟุตบอล.
- ลอน: น. ส่วนที่มีลักษณะสูง ๆ ต่ำ ๆ อย่างลูกคลื่นติดต่อสลับกันไปบนพื้นราบ เช่น ลอนฟูก ลอนสังกะสี, เรียกสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ลอนตาล
- อ: ๑ พยัญชนะตัวที่ ๔๓ เป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นพยัญชนะตัวต้นได้อย่างตัวอื่น ๆ เช่น อา อก องค์, ใช้นำพยัญชนะเดี่ยวได้อย่างอักษรกลางอื่น ๆ เช่น อนึ่ง
- อน: อะนะ- เป็นคำปฏิเสธ แปลว่า ไม่, ไม่ใช่, ใช้ประกอบหน้าศัพท์บาลีและสันสกฤตที่ขึ้นต้นด้วยสระ เช่น อาทร = เอื้อเฟื้อ, อนาทร = ไม่เอื้อเฟื้อ. ( ดู อ ๒
- น: ๑ พยัญชนะตัวที่ ๒๕ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กน. ๒ น. ชื่อคณะฉันท์ มีลหุล้วน เรียกว่า น คณะ, ย่อจากคำว่า นภ (ฟ้า).