วิทยาเขต คือ
สัทอักษรสากล: [wit tha yā khēt]การออกเสียง: วิทยาเขต การใช้"วิทยาเขต" อังกฤษ"วิทยาเขต" จีน
- น. ส่วนหนึ่งของมหาวิทยาลัย แต่ตั้งอยู่ในบริเวณอื่น มีคณาจารย์ อาคาร สถานที่ ตลอดจนอุปกรณ์ต่าง ๆ ของตนเอง เกี่ยวพันกับมหาวิทยาลัยโดยมีอธิการบดีคนเดียวกัน และสภามหาวิทยาลัยชุดเดียวกัน.
- ว: พยัญชนะตัวที่ ๓๗ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นพยัญชนะต้น เช่น วัน วา ใช้ควบกล้ำกับพยัญชนะตัวอื่นบางตัว เช่น กว่า ความ และใช้เป็นตัวสะกดในแม่เกอว เช่น
- วิ: คำนำหน้าศัพท์ แปลว่า วิเศษ, แจ้ง, ต่าง, เช่น วิสุทธิ วิเทศ. ( ป. , ส. ).
- วิทย: วิดทะยะ- น. วิทยา.
- วิทยา: วิดทะยา น. ความรู้, มักใช้ประกอบกับคำอื่น เช่น วิทยากร วิทยาคาร จิตวิทยา สังคมวิทยา. ( ส. ).
- ิ: ชุดที่เสื้อและกางเกงเย็บติดเป็นชิ้นเดียวกัน มนุษยชาติ แพนงเชิง
- ท: ๑ พยัญชนะตัวที่ ๒๓ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น ประมาท บท ธาตุบิสมัท. ๒ ใช้ประสมกับตัว ร
- ทยา: ๑ ทะ- ( แบบ ) น. ความเอ็นดู, ความกรุณา, มักใช้เป็นส่วนหน้าสมาส เช่น ทยาทิคุณ. ( ป. , ส. ). ๒ ทะ- ว. ดี, สำคัญ, ต้องการ, เช่น
- ย: พยัญชนะตัวที่ ๓๔ เป็นพวกอักษรต่ำ เป็นได้ทั้งตัวต้นและตัวสะกดในแม่เกย.
- ยา: น. สิ่งที่ใช้แก้หรือป้องกันโรค หรือบำรุงร่างกาย เรียกชื่อต่าง ๆ กัน คือ เรียกตามลักษณะก็มี เช่น ยาผง ยาเม็ด ยาน้ำ เรียกตามสีก็มี เช่น ยาแดง
- เข: ๑ ว. เหล่น้อย (ใช้แก่ตา). ๒ ดู แกแล .
- เขต: เขด น. แดนที่กำหนดขีดคั่นไว้ เช่น เขตป่า เขตบ้าน, เวลาที่กำหนดขีดคั่นไว้ เช่น หมดเขตวันที่ ๑๕. ( ป. เขตฺต). (โบราณเขียนว่า เขตร).
- ข: พยัญชนะตัวที่ ๒ เป็นพวกอักษรสูง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กกในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต.
- ต: พยัญชนะตัวที่ ๒๑ นับเป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น จิต เมตตา ฟุต.
ประโยค
คำอื่น ๆ
- "วิทยาศาสตร์แพทย์" คือ
- "วิทยาศาสตร์แสงและสายตา" คือ
- "วิทยาหน่วยคำอนุพันธ์" คือ
- "วิทยาหน่วยคำแปลง" คือ
- "วิทยาหลอดเลือดและหลอดน้ำเหลือง" คือ
- "วิทยาเอมบริโอ" คือ
- "วิทยาและศิลปะการรักษาโรค" คือ
- "วิทยาแอนโดร" คือ
- "วิทยาไส้ตรงและทวารหนัก" คือ
- "วิทยาหน่วยคำแปลง" คือ
- "วิทยาหลอดเลือดและหลอดน้ำเหลือง" คือ
- "วิทยาเอมบริโอ" คือ
- "วิทยาและศิลปะการรักษาโรค" คือ