หากิน คือ
สัทอักษรสากล: [hā kin]การออกเสียง: หากิน การใช้"หากิน" อังกฤษ"หากิน" จีน
- ก. ทำงานเลี้ยงชีวิต, หาเลี้ยงชีพ, เช่น เขาหากินด้วยการประกอบอาชีพสุจริต, มักใช้เข้าคู่กับคำ ทำมา เป็น ทำมาหากิน, หาอาหาร เช่น ให้แต่ที่พัก หากินเอาเอง.
ว. ที่หาเลี้ยงชีพด้วยการค้าประเวณี ในคำว่า หญิงหากิน.
- ห: พยัญชนะตัวที่ ๔๑ อยู่ในพวกอักษรสูง เช่น หา เห็นใช้นำอักษรต่ำที่เป็นอักษรเดี่ยวให้มีเสียงสูงและไม่ออกเสียงตัว ห เช่น หงอย หนา.
- หา: ๑ ก. มุ่งพบ, พบ, เช่น ไปหาหมอ เพื่อนมาหา; เยี่ยม, เยี่ยมเยียน, เช่น เพิ่งทราบว่าครูกำลังป่วย ต้องไปหาท่านเสียหน่อย; ฟ้อง, กล่าวโทษ, เช่น
- หาก: ก. โบราณใช้เป็นกริยาช่วยหมายความว่า พึง, ควร, เช่น “อันไตรโลกย์หากบูชา” = อันไตรโลกย์พึงบูชา. ว. จาก, แยกออกไปอีกส่วนหนึ่ง, เช่น ออกหาก ต่างหาก.
- ก: พยัญชนะตัวต้น เป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กก.
- กิน: ก. เคี้ยว เช่น กินหมาก, เคี้ยวกลืน เช่น กินข้าว, ดื่ม เช่น กินน้ำ, ทำให้ล่วงลำคอลงไปสู่กระเพาะ; โดยปริยายหมายความว่าเปลือง เช่น กินเงิน กินเวลา,
- ิ: ชุดที่เสื้อและกางเกงเย็บติดเป็นชิ้นเดียวกัน มนุษยชาติ แพนงเชิง
- น: ๑ พยัญชนะตัวที่ ๒๕ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กน. ๒ น. ชื่อคณะฉันท์ มีลหุล้วน เรียกว่า น คณะ, ย่อจากคำว่า นภ (ฟ้า).