แทบไม่น่าเชื่อ คือ
- adv.
ไม่น่าเชื่อ, ไม่อยากจะเชื่อ
ตัวอย่างการใช้: การสร้างผลงานชิ้นนี้เป็นเทคนิคที่แทบไม่น่าเชื่อว่าจะทำได้ถึงรายละเอียดเช่นนี้
- แท: ไม่ได้ปลอมแปลง ไม่ได้เสแสร้ง
- แทบ: ว. เกือบ, จวนเจียน, ใกล้ชิด.
- ท: ๑ พยัญชนะตัวที่ ๒๓ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น ประมาท บท ธาตุบิสมัท. ๒ ใช้ประสมกับตัว ร
- ทบ: ๑ ก. พับเข้ามา เช่น ทบผ้า ทบเชือก, เพิ่มเข้า เช่น เอาเชือกมาทบเข้าอีกเส้นหนึ่ง, ลักษณนามเรียกสิ่งที่พับเข้ามาหรือเพิ่มเข้ามา เช่น ผ้าทบหนึ่ง ผ้า
- บ: ๑ พยัญชนะตัวที่ ๒๖ เป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กบ. ๒ บอ, บ่อ ว. ไม่, มักใช้ในหนังสือเก่าหรือกวีนิพนธ์ หรือบางท้องถิ่น, ในที่ใช้ บ
- ไม่: ว. มิ, คำปฏิเสธความหมายของคำที่อยู่ถัดไป เช่น ไม่กิน ไม่ดี, ถ้าอยู่ท้ายคำ ต้องมีคำ หา อยู่หน้า เช่น หากินไม่.
- ไม่น่าเชื่อ: v. เชื่อยาก, ไม่อยากจะเชื่อ ตัวอย่างการใช้: เครื่องสำอางชุดนี้ขายดิบขายดีในประเทศต่างๆ อย่างไม่น่าเชื่อ
- ม: พยัญชนะตัวที่ ๓๓ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กม.
- ม่น: ( ถิ่น-อีสาน ) ก. ซุก, แทรก.
- น: ๑ พยัญชนะตัวที่ ๒๕ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กน. ๒ น. ชื่อคณะฉันท์ มีลหุล้วน เรียกว่า น คณะ, ย่อจากคำว่า นภ (ฟ้า).
- น่า: ๑ ว. คำประกอบหน้ากริยา หมายความว่า ควร เช่น น่าจะทำอย่างนั้น น่าจะเป็นอย่างนี้; ชวนให้, ทำให้อยากจะ, เช่น น่ากิน น่ารัก. ๒ ว.
- น่าเชื่อ: v. ไม่ต้องสงสัย, นอนใจได้ , ชื่อพ้อง: น่าเชื่อถือ, น่าไว้วางใจ, เชื่อได้ ตัวอย่างการใช้:
- เชื่อ: ก. เห็นตามด้วย, มั่นใจ, ไว้ใจ; ซื้อหรือขายโดยติดค้างไว้ ไม่ต้องชำระเงินทันที.
- ช: ๑ พยัญชนะตัวที่ ๑๐ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น ราช คช กริช แซนด์วิช. ๒ ในภาษาบาลีและสันสกฤต
- ชื่อ: น. คำที่ตั้งขึ้นสำหรับเรียกคน สัตว์ สถานที่ และสิ่งของโดยทั่ว ๆ ไปหรือโดยเฉพาะเจาะจง.
- อ: ๑ พยัญชนะตัวที่ ๔๓ เป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นพยัญชนะตัวต้นได้อย่างตัวอื่น ๆ เช่น อา อก องค์, ใช้นำพยัญชนะเดี่ยวได้อย่างอักษรกลางอื่น ๆ เช่น อนึ่ง