โซงโขดง คือ
-ขะโดง
น. ทรงผมของหญิงไทยสมัยโบราณ ซึ่งรวบเข้าไปเกล้าไว้บนขม่อมเป็นห่วงยาว ๆ โดยมากมีเกี้ยวหรือพวงมาลัยสวม, โองโขดง ก็ว่า. (สิบสองเดือน ).
- โซ: ว. อดอยากยากจน.
- ซ: พยัญชนะตัวที่ ๑๑ นับเป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ เช่น กอซ.
- ง: พยัญชนะตัวที่ ๗ นับเป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กง.
- โข: ( ปาก ) ว. มาก. (กร่อนมาจาก อักโข ซึ่งตัดมาจาก อักโขภิณี).
- โขด: น. ดินหรือหินที่สูงขึ้นเป็นโคกเป็นเนิน, ดิน หิน หรือทรายที่เป็นจอมสูงขึ้นพ้นน้ำบ้าง อยู่ใต้น้ำบ้าง.
- โขดง: ขะโดง น. กระโดง; ใบเรือ. ( ข. ).
- ข: พยัญชนะตัวที่ ๒ เป็นพวกอักษรสูง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กกในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต.
- ขด: ๑ ก. ม้วนตัวให้เป็นวง ๆ เช่น งูขด, ทำให้เป็นวง ๆ เช่นนั้น เช่น เอาลวดมาขด, งอหรือทำให้งอ เช่น นอนขด ขดให้เป็นลวดลาย. น. สิ่งที่เป็นวง ๆ,
- ด: พยัญชนะตัวที่ ๒๐ นับเป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กด.
- ดง: ๑ น. ป่าที่มีต้นไม้ใหญ่ขึ้นหนาแน่น เช่น ขึ้นเป็นดง, ที่ซึ่งมีต้นไม้อย่างใดอย่างหนึ่งขึ้นหนาแน่น เช่น ดงกล้วย,