กะลันทา คือ
"กะลันทา" อังกฤษ
- กะ พยางค์หน้าอันใช้เป็น กระ- ได้, แต่มีบางคำซึ่งต้องการพยางค์นี้เพื่อสละสลวยหรือเน้นคำให้เด่นขึ้น เช่น เกริก เป็น กะเกริก, หรือเกิดเป็นพยางค์หน้าขึ้น
- กะลัน น. ลัน, เครื่องดักปลาไหล ทำด้วยกระบอกไม้ไผ่ มีงาแซง.
- ลัน น. เครื่องดักปลาไหล ทำด้วยกระบอกไม้ไผ่เหลือข้อไว้ด้านหนึ่ง ที่ปากกระบอกมีงาแซง, กะลัน ก็เรียก.
- นท นด ( แบบ ) น. ผู้บันลือ, ผู้ร้อง, ผู้ลั่น; แม่น้ำ, ลำน้ำ, เช่น ชมพูนท (แปลว่า เกิดในแม่น้ำชมพูนที คือ ทองคำบริสุทธิ์). ( ป. , ส. ).
- ทา ก. คำรวมหมายถึงกิริยาอาการที่เอาของเปียกหรือของเหลวเป็นต้น ฉาบ ลูบ ไล้ ป้าย หรือบ้าย เช่น ทาสี ทาแป้ง ทาปาก ทายา, ถ้าทาเกลือกหรือเคลือบแต่ผิว ๆ
- กะลวย น. เรียกขนหางไก่ตัวผู้ที่ยื่นยาวกว่าเส้นอื่นว่า หางกะลวย.
- กะลอ (ถิ่น-ปักษ์ใต้) น. ชื่อไม้ต้นขนาดย่อมหลายชนิดในสกุล Macaranga วงศ์ Euphorbiaceae มักขึ้นในป่าใสในที่ชุ่มชื้น ก้านใบล้ำอยู่ใต้โคนใบ เช่น ชนิด M. tanarius Muell. Arg.
- กะลอจี๊ น. ชื่อขนมของจีนชนิดหนึ่ง ทำด้วยแป้งข้าวเหนียวทอดไฟอ่อน ๆ เวลากินคลุกงาผสมน้ำตาลทรายขาว.
- กะลา ๑ น. ส่วนแข็งที่หุ้มเนื้อมะพร้าว ถ้าผ่าซีก ซีกที่มีตา เรียกว่า กะลาตัวผู้ ซีกที่ตัน เรียกว่า กะลาตัวเมีย; เรียกถ้วยชามชนิดเลวเนื้อหยาบหนาว่า ชามกะลา; เรียกผมที่ตัดเป็นรูปกะลาครอบว่า ผมทรงกะลาครอบ; เ
- กะลาง น. ชื่อนกในวงศ์ Timaliidae ตัวขนาดนกเอี้ยง หากินเป็นฝูงตามพื้นดิน มีหลายชนิด เช่น กะรางหัวหงอก (Garrulax leucolophus) กะรางคอดำ (G. chinensis). (ในรำพันนามพฤกษา ฯลฯ ว่า กะราง, ในพระลอ ว่า กะลาง).
- กะลาสี น. ลูกเรือ. ว. อย่างเครื่องแต่งกายกะลาสีสมัยโบราณหรือพลทหารเรือปัจจุบัน เช่น หมวกกะลาสี เงื่อนกะลาสี คอเสื้อกะลาสี. (มลายู กะลาสิ จากคำอิหร่าน ขะลาสิ).
- กะลิง น. ชื่อนกปากงุ้มเป็นขอชนิด Psittacula finschii ในวงศ์ Psittacidae หัวสีเทา ตัวสีเขียว ปากแดง หางยาว.
- กะลิอ่อง (ถิ่น-พายัพ) น. กล้วยน้ำว้า. (ดู น้ำว้า).
- กะลุมพี น. ชื่อปาล์มชนิด Eleiodoxa conferta (Griff.) Burr. ในวงศ์ Palmae ขึ้นเป็นกอในป่าพรุและที่ชื้นแฉะทางภาคใต้ ผลเป็นช่อใหญ่และแน่น ปลายผลตัด ผิวเหลืองเกลี้ยงเป็นมัน ไม่มีหนาม เยื่อหุ้มเมล็ดขาว รสเปรี้ยว
- กะล่อน ๑ น. ชื่อมะม่วงชนิด Mangifera caloneura Kurz ในวงศ์ Anacardiaceae ผลเล็ก เนื้อไม่มีเสี้ยน เมื่อสุกมีกลิ่นหอมแรง, ขี้ไต้ ก็เรียก. ๒ ว. พูดคล่อง แต่ไม่จริงเป็นส่วนมาก.