เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

การชักรอก คือ

การออกเสียง:
"การชักรอก" การใช้"การชักรอก" อังกฤษ"การชักรอก" จีน
ความหมายมือถือ
  • การยก
    ธงที่ชักขึ้น
    ปั้นจัน
    รถยก
    ลิฟต์
    ลิฟต์ กว้าน
    เครื่องยก
  • กา     ๑ น. ชื่อนกชนิด Corvus macrorhynchos ในวงศ์ Corvidae ตัวดำ ร้องกา ๆ, อีกา ก็เรียก; ชื่อดาวฤกษ์ธนิษฐา เช่น แม้นดาวกามาใกล้ในมนุษย์. ( อภัย ).
  • การ     ๑ น. งาน, สิ่งหรือเรื่องที่ทำ, มักใช้เข้าคู่กับคำ งาน เช่น การงาน เป็นการเป็นงาน ได้การได้งาน, ถ้าอยู่หน้านาม หมายความว่า เรื่อง, ธุระ, หน้าที่,
  • การชัก     การหักออก การเอาออก การกระตุก การดึง การรั้ง
  • ชัก     ๑ ก. ดึงสายเชือกเป็นต้นที่ผูกอยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งเพื่อให้สิ่งนั้นเคลื่อนไหวไปตามต้องการ เช่น ชักว่าว ชักรอก; ดึง, ดึงออกมา, ดึงขึ้น, เช่น
  • ชักรอก     ก. อาการที่ทำให้เส้นเชือกหรือเส้นลวดเคลื่อนผ่านร่องของรอกเพื่อยก ลาก หรือดึงของหนักหรือคนเป็นต้น ให้เบาแรงและสะดวกคล่องขึ้น. น.
  • กร     ๑ กอน น. ผู้ทำ, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. ( ป. ). ๒ กอน น. มือ (มักใช้ในบทประพันธ์); แขน เช่น
  • กรอ     ๑ ก. ม้วนด้ายเข้าหลอดด้วยไนหรือเครื่องจักร; ควง เช่น กรเกาะขอกรอธาร เงือดง้าง. ( ลิลิตพยุหยาตรา ). ๒ ก.
  • กรอก     ๑ กฺรอก ก. เทลงในช่องแคบ เช่น กรอกหม้อ กรอกขวด, หรือใช้โดยปริยายก็ได้ เช่น พูดกรอกหู; ลงข้อความหรือจำนวนเลข เช่น กรอกบัญชี. ว. แห้งจนคลอน,
  • รอ     ๑ น. หลักปักกันกระแสน้ำ เช่น ทำรอกันตลิ่งพัง. ๒ ก. คอย เช่น รอรถ รอเรือ; ยับยั้ง เช่น รอการพิจารณาไว้ก่อน รอการลงอาญาไว้ก่อน; เกือบจด, จ่อ,
  • รอก     น. เครื่องผ่อนแรงรูปคล้ายล้อ มีแกนหมุนได้รอบตัว ที่ขอบเป็นร่องสำหรับให้เส้นเชือกหรือเส้นลวดเดินได้สะดวก ใช้สำหรับยก ลาก
  • อก     ๑ น. ส่วนของร่างกายด้านหน้าอยู่ระหว่างคอกับท้อง; ใจ เช่น อกกรม อกเขาอกเรา; เรียกไม้ที่เป็นแกนกลางของตัวว่าวว่า อกว่าว;
  • การชี้บอก    ระดับขีดแบ่งของเครื่องมือ สิ่งที่บอก อาการโรค เครื่องหมายแสดง
  • การกรอก    การเท
  • การชักออก    การลบ การหัก
  • เป็นการชี้บอก    ซึ่งชี้แนะ เป็นดรรชนี
ประโยค
  • สำหรับการชักรอกโคมไฟผ่าตัดคุณสามารถเลือกแบตเตอรี่ถ้าคุณต้องการ
  • ความปลอดภัยในการชักรอกของวัสดุก่อสร้างแบบกรงคู่พร้อมระบบควบคุมความถี่
  • ประตูเหล็กม้วนควบคุมด้วยกำลังคน โดยประตูเปิดปิดขึ้นลงได้ตามการชักรอกโซ่ โดยระบบนี้เหมาะสำหรับประตูที่มีขนาดใหญ่ไม่มากนัก