เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

ดะหมัง คือ

การออกเสียง:
ความหมายมือถือ
  • -หฺมัง
    น. เสนา. (ช.).
  • ดะ     ๑ ว. ตะลุยไป, ไม่เลือกหน้า, ไม่งดเว้น, เช่น เก็บดะ ตีดะ เตะดะ ฟันดะ. ๒ ใช้นำหน้าคำที่ตั้งต้นด้วยตัว ด ในบทกลอน
  • มัง     end. คำแสดงความไม่แน่ใจ, คำแสดงความคาดคะเน, (ใช้ไว้ท้ายประโยค) ชื่อพ้อง: กระมัง ตัวอย่างการใช้: เขาคงไม่อยากไปมัง
  • ดะวะห์    การดะวะห์
  • การดะวะห์    ดะวะห์
  • กระหมั่ง    (กลอน) ว. กระมัง เช่น เครื่องค้าเหลือผู้ซื้อ กระหมั่ง. (ลอ).
  • กลุ่มก่อการร้ายอัลกออิดะห์    อัล-ไคดา กลุ่มอัลไคดา ฐานเครือข่ายกลุ่มอัลเกดา
  • ตีดะ    ตีป่า ตีไม่เลือก
  • แดะ    ก. แอ่นตัวหรือดีดตัวขึ้น. น. เรียกท่าหนึ่งของวิชาพลศึกษาที่แอ่นตัวขึ้นก่อนที่จะทิ้งตัวลงในการแข่งขันกระโดดไกล กระโดดสูง ราวเดี่ยว เป็นต้น.
  • บะหมี่    น. ชื่ออาหารชนิดหนึ่ง ทำด้วยแป้งสาลี เป็นเส้นเล็ก ๆ มีสีเหลือง ลวกสุกแล้วปรุงด้วยเครื่องมีหมูเป็นต้น. (จ.).
  • อะหม    น. ชนชาติไทยใหญ่สาขาหนึ่ง ที่เข้าไปอยู่ในแคว้นอัสสัม ประเทศอินเดีย เมื่อราวพุทธศตวรรษที่ ๑๘, อาหม ก็ว่า.
  • โต๊ะหมู่    น. ที่ตั้งเครื่องบูชา ประกอบด้วยม้า ๔ ขาหลายตัวคุมกันเป็นหมู่ มีหมู่ ๓ หมู่ ๔ หมู่ ๕ หมู่ ๗ หมู่ ๙ และหมู่ ๑๑, เดิมเรียกว่า ม้าหมู่บูชา.
  • มะหะหมัด    น. นามศาสดาของศาสนาอิสลาม, มุฮัมมัด ก็เรียก.
  • กระหัง    น. ผีชนิดหนึ่งที่ถือว่าเข้าสิงในตัวผู้ชาย เชื่อกันว่าเดิมเป็นผู้ชายที่เรียนวิชาอาคมแก่กล้าเข้าก็มีปีกมีหาง จะไปไหนก็ใช้กระด้งต่างปีก สากตำข้าวต่างขา สากกะเบือต่างหาง ชอบกินของโสโครก, คู่กับ กระสือ ซ
  • กะหริ่ง    กะริง
  • ตะหลุง    น. ไม้แก่นเจาะเป็นรูสำหรับฝังหัวดุมท้ายดุมสอดเพลาเพื่อไม่ให้เพลาแกว่ง.