มะกอกสามตะกร้าปาไม่ถูก คือ
สัทอักษรสากล: [ma køk sām ta krā pā mai thūk] การออกเสียง:
"มะกอกสามตะกร้าปาไม่ถูก" อังกฤษ
ความหมายมือถือ
- (สำ) ก. พูดจาตลบตะแลงพลิกแพลงไปมาจนจับคำพูดไม่ทัน.
น. คนกลับกลอก.
- มะ ๑ คำนำหน้าต้นไม้หรือผลไม้บางอย่าง กร่อนมาจากคำ “หมาก” โบราณแปลว่า ลูกไม้, ผลไม้. ๒ น. นาย (ใช้นำหน้าชื่อคน). ( ต. ).
- มะกอก น. ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Spondias pinnata (L.f.) Kurz ในวงศ์ Anacardiaceae ใบอ่อนมีรสเปรี้ยว ใช้เป็นผักดิบ ผลขนาดลูกหมากดิบ
- กอ ๑ น. กลุ่มแห่งต้นไม้ที่เกิดจากเหง้าเดียวกัน เช่น กอหญ้า กอแขม กอไผ่, ต้นไม้ที่ขึ้นเป็นกลุ่ม เช่น กอข้าว, ใช้เข้าคู่กับคำ เหล่า ว่า เหล่ากอ
- กอก ๑ ก. ดูดเลือด หนอง หรือลมออกจากร่างกายหรือดูดเอาน้ำนมออกจากเต้านมโดยใช้ถ้วย กระบอก ฯลฯ เป็นเครื่องดูด. ๒ น. มะกอก.
- อก ๑ น. ส่วนของร่างกายด้านหน้าอยู่ระหว่างคอกับท้อง; ใจ เช่น อกกรม อกเขาอกเรา; เรียกไม้ที่เป็นแกนกลางของตัวว่าวว่า อกว่าว;
- สา ๑ น. หมา. ( ป. ; ส. ศฺวนฺ). ๒ ( ถิ่น-พายัพ ) น. ต้นกระสา. ( ดู กระสา ๓ ), ชื่อกระดาษที่ทำจากเปลือกต้นกระสา ใช้ทำร่มเป็นต้น เรียกว่า
- สาม สามะ-, สามมะ- น. บทสรรเสริญ; การสรรเสริญ. ( ส. ). ๑ น. จำนวนสองบวกหนึ่ง; ชื่อเดือนจันทรคติ เรียกว่า เดือน ๓ ตกในราวเดือนกุมภาพันธ์.
- มต มะตะ- ก. ตายแล้ว. ( ป. ; ส. มฺฤต).
- มตะ มะตะ- ก. ตายแล้ว. ( ป. ; ส. มฺฤต).
- ตะ ก. ทา, ฉาบ, แตะ, กะไหล่ เช่น ตะทอง ว่า กะไหล่ทอง, ตะทองลาย ว่า กะไหล่ทองเป็นดวง ๆ, หรือ ตะถม เป็นต้น.
- ตะกร้า -กฺร้า น. ภาชนะสานโปร่งสำหรับใส่สิ่งของ มีรูปต่าง ๆ บางชนิดมีหูหิ้ว บางชนิดไม่มี.
- กร ๑ กอน น. ผู้ทำ, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. ( ป. ). ๒ กอน น. มือ (มักใช้ในบทประพันธ์); แขน เช่น
- ร้า ๑ น. ชื่อนกชนิดหนึ่ง รูปคล้ายนกยาง, มักเรียกกันว่า อีร้า. ( พจน. ๒๔๙๓). ๒ น. ชื่ออาหารชนิดหนึ่งทำด้วยปลาหมักเกลือ เรียกว่า ปลาร้า;
- ปา ก. ซัดไปด้วยอาการยกแขนขึ้นสูงแล้วเอี้ยวตัว; ( ปาก ) คำใช้แทนกิริยาได้หลายอย่างแล้วแต่คำประกอบที่ทำให้รู้ว่าเกินกว่าที่คาดคิด, มักใช้ว่า ปาขึ้นไป
- ไม่ ว. มิ, คำปฏิเสธความหมายของคำที่อยู่ถัดไป เช่น ไม่กิน ไม่ดี, ถ้าอยู่ท้ายคำ ต้องมีคำ หา อยู่หน้า เช่น หากินไม่.
- ถู ก. สี เช่น ถูขี้ไคล ถูฟัน ถูเนื้อถูตัว, เช็ดโดยวิธีใช้สิ่งใดสิ่งหนึ่งไถไปไถมาให้สะอาด เช่น ถูบ้าน.
- ถูก ๑ ก. โดน, แตะต้อง, สัมผัส, เช่น ถูกเนื้อถูกตัว; เหมาะกัน, เข้ากัน, เช่น ถูกนิสัย; ตรงกันกับ เช่น ถูกกฎหมาย ถูกลอตเตอรี่;