ละครสังคีต คือ
- น. ละครแบบหนึ่ง รับอิทธิพลจากละครแบบยุโรป ตัวละครร้องและพูดบทของตน การร้องเพลงและการพูดมีความสำคัญเท่ากัน ตัดส่วนใดออกเนื้อเรื่องจะขาดไป ดนตรีประกอบไพเราะ มีการจัดฉากและแต่งกายตามสมัยที่ปรากฏในเรื่อง เช่น ละครสังคีตเรื่องวิวาหพระสมุท เรื่องมิกาโด, บางทีเรียกว่า ละครพูดสลับลำ.
- ละ ๑ ก. อาการที่แยกตัวให้พ้นจากสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งเกี่ยวข้องอยู่ เช่น ละถิ่น ละบ้าน ละสมณเพศ; ทิ้งไว้, ปล่อยไว้, เช่น ละไว้ในฐานที่เข้าใจ ละพยศ;
- ละคร -คอน น. การแสดงประเภทหนึ่ง ผู้แสดงเรียกว่า ตัวละคร มีเวทีหรือสถานที่ใช้ในการแสดง มีบทให้ตัวละครแสดงตามเนื้อเรื่อง โดยมากมีดนตรีประกอบ
- รส น. สิ่งที่รู้ได้ด้วยลิ้น เช่น เปรี้ยว หวาน เค็ม ฝาด, โดยปริยายหมายถึง ความไพเราะ เช่น กลอนบทนี้ไม่มีรส. ( ป. , ส. ).
- สัง ( ถิ่น-อีสาน ) น. ต้นมะสัง. ( ดู มะสัง ).
- สังค สังคะ-, สัง น. ความข้องอยู่, การติดอยู่. ( ป. ; ส. สํค).
- สังคีต -คีด น. การร้องรำทำเพลง เช่น สังคีตศิลป์. ( ป. ; ส. สํคีต).
- คีต คีด, คีตะ-, คีตะกะ ( แบบ ) น. เพลงขับ, การขับร้อง, เช่น แลคีตสำเนียงบรรสาน. ( สมุทรโฆษ ). ( ป. , ส. ).
- ตัวละครสํารอง ผู้รับบทแทนในกรณีที่ตัวจริงไม่อยู่ ผู้แสดงแทน
- ละครสัตว์ น. การแสดงของสัตว์ต่าง ๆ ที่ฝึกไว้ดีแล้ว โดยมีการแสดงของคณะกายกรรมประกอบด้วย.
- ตัวละคร (วรรณ) น. ผู้มีบทบาทในวรรณกรรมประเภทละคร นวนิยาย เรื่องสั้น และเรื่องแต่งประเภทต่าง ๆ.
- เต็นท์ละครสัตว์ เต็นท์คณะละครสัตว์
- คณะละครสัตว์ คณะ คณะผู้แสดง คณะผู้แสดงกายกรรม คณะละคร
- สัตว์ในละครสัตว์ สัตว์ใช้ในการแสดง
- เต็นท์คณะละครสัตว์ เต็นท์ละครสัตว์
- ตัวละครชาย นักแสดงชาย ดาราชาย ตัวนําแสดงชาย ตัวแสดงชาย ผู้แสดงชาย ศิลปินชาย