วัสดุที่ใช้ทำโครงฐานของถนน คือ
- ถนนที่ถมแล้ว
พื้นของถนน
เส้นทางเดินรถ
โครงฐานของถนน
- วัส วัดสะ- น. ฝน, ฤดูฝน; ปี. ( ป. ; ส. วรฺษ).
- วัสดุ วัดสะดุ น. วัตถุที่นำมาใช้ เช่น วัสดุก่อสร้าง; ของใช้ที่มีอายุการใช้ในระยะเวลาสั้น ๆ เช่น กระดาษ ดินสอ (ใช้แก่การงบประมาณ). ( ส. วสฺตุ; ป.
- สด ว. ใหม่ ใช้แก่ลักษณะของสิ่งต่าง ๆ ที่ได้มาหรือผลิตขึ้นใหม่ ๆ ยังไม่ทันเสื่อมหรือเสียคุณภาพของสิ่งนั้น คือ ไม่เหี่ยวแห้ง ซีดจาง
- ดุ ก. ว่ากล่าวหรือทักท้วงด้วยความโกรธหรือไม่พอใจเพราะมีความผิดหรือไม่อยู่ในโอวาทเป็นต้น, โดยปริยายหมายความว่า มีอันตรายมาก, มีคนเสียชีวิตมาก, เช่น
- ที ๑ น. ครั้ง, คราว, หน, เช่น ทีละน้อย ทีละคน; ใช้เป็นลักษณนามบอกจำนวนครั้ง เช่น เฆี่ยน ๓ ที นาฬิกาตี ๕ ที. ๒ น. ท่าทาง, ชั้นเชิง, โอกาส, เช่น
- ที่ น. แหล่ง, ถิ่น, เช่น ที่ประกอบอาชีพ ที่ทำมาหากิน, สถานที่ เช่น ที่ประชุม ที่พัก, ตำแหน่งที่ เช่น เอาแว่นวางไว้ที่โต๊ะ; ที่ดิน เช่น ซื้อที่ ขายที่
- ี่ ที่ไม่ได้จํากัดหรือกําหนดล่วงหน้า โชคร้าย เงินสด ที่เปลี่ยนได้ง่าย
- ใช้ ก. บังคับให้ทำ เช่น ใช้งาน; จับจ่าย เช่น ใช้เงิน; เอามาทำให้เกิดประโยชน์ เช่น ใช้เรือ ใช้รถ; ชำระ ในคำว่า ใช้หนี้; ตอบแทน, ให้ทดแทน, เช่น
- ทำ ก. กระทำ, ประกอบขึ้น, ผลิตขึ้น, สร้างขึ้น, ก่อขึ้น, เช่น ทำเก้าอี้ ทำโต๊ะ ทำรองเท้า ทำรัง; ประกอบการงาน เช่น ทำนา ทำสวน ทำโป๊ะ; ดำเนินการ,
- โค ๑ น. วัว (มักใช้เป็นทางการ) เช่น สั่งซื้อแม่โคพันธุ์ใหม่จากต่างประเทศ. ( ป. , ส. ). ๒ น. พระอาทิตย์ เช่น โคจร = ทางเดินของพระอาทิตย์ โควิถี
- โครง โคฺรง น. ร่างของสิ่งต่าง ๆ ที่คุมกันอยู่เป็นรูป เช่น โครงกระดูก โครงว่าว.
- โครงฐานของถนน ถนนที่ถมแล้ว พื้นของถนน วัสดุที่ใช้ทำโครงฐานของถนน เส้นทางเดินรถ
- รง ๑ น. ชื่อไม้ต้นชนิด Garcinia hanburyi Hook.f. ในวงศ์ Guttiferae ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ทุกส่วนมียางสีเหลือง. ๒ น. ชื่อยางไม้ที่ได้จากไม้ต้น
- ฐาน ๑ ถาน น. ที่ตั้ง เช่น ฐานทัพ ฝีตั้งฐาน, ที่รองรับ เช่น ฐานพระพุทธรูป. ( ป. ). ๒ ถาน, ถานะ- น. ตำแหน่งหน้าที่; หลักฐาน,
- นข นะขะ- ( แบบ ) น. เล็บ, เล็บมือ, เล็บเท้า. ( ป. , ส. ).
- ขอ ๑ น. ไม้หรือเหล็กที่งอ ๆ สำหรับชัก เกี่ยว แขวน หรือสับ, ตะขอ หรือ ตาขอ ก็เรียก. ๒ ก. พูดให้เขาให้สิ่งที่ต้องการ, วิงวอน. ๓ น.
- ของ น. สิ่งต่าง ๆ. บ. แห่ง (ใช้สำหรับนำหน้านามที่เป็นผู้ครอบครอง).
- ของถนน บนถนน ใกล้ถนน ในถนน
- อง น. คำนำหน้านามของบุคคลซึ่งเป็นเชื้อพระวงศ์ของกษัตริย์ญวน เช่น องเชียงสือ องเชียงชุน,
- ถนน ถะหฺนน น. หนทางที่ทำขึ้น, ลักษณนามว่า สาย, สนน ก็ว่า, โบราณเขียนเป็น ถนล. ( จารึกวัดป่ามะม่วง ); ( กฎ ) ทางเดินรถ ทางเท้า ขอบทาง ไหล่ทาง