ศิลปธาตุ คือ
- น. สิ่งที่เป็นส่วนประกอบร่วมในการสร้างสรรค์งานศิลปะ โดยเฉพาะงานประเภททัศนศิลป์ ได้แก่ เส้น สี ผิว เป็นต้น.
- ศิลป ศิลป์ กระบวนการ การวัด ศิลปะ
- ธาตุ ๑ ทาด, ทาตุ-, ทาดตุ- น. สิ่งที่ถือว่าเป็นส่วนสำคัญที่คุมกันเป็นร่างของสิ่งทั้งหลาย โดยทั่ว ๆ ไปเชื่อว่ามี ๔ ธาตุ ได้แก่ ธาตุดิน ธาตุน้ำ ธาตุไฟ
- ตุ ว. ลักษณะกลิ่นเหม็นอย่างหนึ่งคล้ายกลิ่นเนื้อหรือปลาที่ตากไม่ได้แดดเป็นต้น, ใช้ประกอบกับคำ เหม็น เป็น เหม็นตุ.
- อาโปธาตุ น. ของเหลวที่เอิบอาบซาบซึมไปได้ นับเป็นธาตุ ๑ ในธาตุทั้ง ๔ คือ ๑. ปฐวีธาตุ = ธาตุดิน ๒. อาโปธาตุ = ธาตุน้ำ ๓. เตโชธาตุ = ธาตุไฟ ๔. วาโยธาตุ = ธาตุลม. (ป., ส.).
- สัมมัปธาน สำมับปะทาน น. ความเพียรที่ตั้งไว้ชอบ. (ป. สมฺมปฺปธาน; ส. สมฺยกฺปฺรธาน).
- ศิลป- สินละปะ-, สิน, สินละปะ น. ฝีมือ, ฝีมือทางการช่าง, การทำให้วิจิตรพิสดาร, เช่น เขาทำดอกไม้ประดิดประดอยอย่างมีศิลปะ ผู้หญิงสมัยนี้มีศิลปะในการแต่งตัว รูปสลักวีนัสเป็นรูปศิลป์; การแสดงออกซึ่งอารมณ์สะเทื
- ศิลปี สินละ- น. ผู้มีความสามารถแสดงออกซึ่งคุณสมบัติทางศิลปะในด้านจิตรกรรมประติมากรรมเป็นต้น และมีผลงานเป็นที่ยอมรับนับถือจากสถาบันทางศิลปะแห่งชาติ.
- ศิลป์ ๑ สินละปะ-, สิน, สินละปะ น. ฝีมือ, ฝีมือทางการช่าง, การทำให้วิจิตรพิสดาร, เช่น เขาทำดอกไม้ประดิดประดอยอย่างมีศิลปะ ผู้หญิงสมัยนี้มีศิลปะในการแต่งตัว รูปสลักวีนัสเป็นรูปศิลป์; การแสดงออกซึ่งอารมณ์สะเ
- ครูศิลปะ ครูสอนศิลปะ ครูสอนวาดรูป
- ธนูศิลป์ น. ฝีมือยิงธนู, การฝึกหัดยิงธนู. (ส.).
- ศิลปกร น. นายช่างฝีมือ. (ส.).
- ศิลปกิจ น. การช่างฝีมือ.
- ศิลปนิยม n. ความนิยมชมชอบในทางศิลปะ ตัวอย่างการใช้: เขาศึกษาคุณค่าของศิลปนิยมอย่างจริงจังตั้งแต่สมัยเป็นหนุ่ม
- ศิลปวัตถุ น. วัตถุอันเป็นผลงานสร้างสรรค์ทางทัศนศิลป์ที่ประกอบด้วยศิลปลักษณะ เช่น ภาพเขียน รูปปั้น เครื่องลายคราม เครื่องถม; (กฎ) น. สิ่งที่ทำด้วยฝีมืออย่างประณีตและมีคุณค่าสูงในทางศิลปะ.
- ศิลปะ สินละปะ-, สิน, สินละปะ น. ฝีมือ, ฝีมือทางการช่าง, การทำให้วิจิตรพิสดาร, เช่น เขาทำดอกไม้ประดิดประดอยอย่างมีศิลปะ ผู้หญิงสมัยนี้มีศิลปะในการแต่งตัว รูปสลักวีนัสเป็นรูปศิลป์; การแสดงออกซึ่งอารมณ์สะเทื