สมัยประชุม คือ
สัทอักษรสากล: [sa mai pra chum] การออกเสียง:
"สมัยประชุม" การใช้"สมัยประชุม" อังกฤษ"สมัยประชุม" จีน
ความหมายมือถือ
- การนั่งประชุม
ภาคการศึกษา
ระยะการประชุม
เวลาในการประชุม
วาระประชุม
- สม ๑ ว. เหมาะ, เหมาะกับ, ควรแก่, เช่น บ่าวสาวคู่นี้สมกัน เขาแต่งตัวสมฐานะ แสดงละครได้สมบทบาท เขาต่อสู้กันอย่างสมศักดิ์ศรี เด็กคนนี้แต่งตัวไม่สมวัย,
- สมัย สะไหฺม น. เวลา, คราว, เช่น สมัยโบราณ สมัยกลาง สมัยปัจจุบัน, มักใช้เข้าคู่กับคำ กาล เป็น กาลสมัย. ( ป. , ส. ).
- มัย ๑ น. ม้า, ลา, อูฐ. ( ป. , ส. มย). ๒ ว. สำเร็จด้วย, แล้วด้วย, ประกอบด้วย, (ใช้ประกอบท้ายสมาส เช่น มโนมัย ว่า สำเร็จด้วยใจ, กุศลมัย ว่า
- ปร ปะระ-, ปอระ- ว. อื่น, ใช้เป็นบทหน้าสมาส เช่น ปรปักษ์ ปรโลก. ( ป. ).
- ประ ปฺระ ใช้เติมหน้าคำอื่นเพื่อให้คำหนักแน่นขึ้น เช่น ชิด เป็น ประชิด, ท้วง เป็น ประท้วง; คำที่แผลงมาจาก ผ เช่น ผทม เป็น ประทม แล้วแผลง ประ เป็น บรร
- ประชุม ก. มารวมกันหรือเรียกให้มารวมกันเพื่อประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง, มาร่วมพบกันเพื่อปรึกษาหารือ, เช่น ประชุมกรรมการ,
- ระ ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
- ชุ ( กลอน ) น. ต้นไม้ เช่น กินลูกชุลุเพรางาย. ( ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). ( ต. ชุ ว่า ต้นไม้).
- ชุม ก. มารวมกันจากที่ต่าง ๆ เช่น ชุมพล; ดาษดื่น, มีมาก, เช่น ขโมยชุม ยุงชุม.
- เบี้ยประชุม น. เงินค่าตอบแทนที่ให้แก่กรรมการเป็นต้นที่เข้าประชุม.
- ที่ประชุม สภา สันนิบาต ห้องประชุม วงประชุม ผู้เข้าประชุม
- ผู้ประชุม ผู้ถูกมอบให้ ผู้รับปริญญา
- ตายประชดป่าช้า (สำ) ก. แกล้งทำหรือพูดแดกดันประชดอีกฝ่ายหนึ่ง แต่ตัวเองกลับเป็นฝ่ายเสียหายจากการทำหรือพูดนั้น.
- การประชุม การเยี่ยม ความต้องการอย่างมาก หรือความโน้มเอียงในการประกอบอาชีพหนึ่ง หน้าที่ของบุคคลหนึ่งที่ได้มอบหมายจากพระเจ้า อาชีวะ การสนทนา การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การเจรจา มิตติ้ง การพบปะสังสรรค์ การชุมนุม ก
- ปิดประชุม v. หยุดการประชุม คำตรงข้าม: เปิดประชุม ตัวอย่างการใช้: ประธานไม่ตอบคำถามแต่รีบปิดประชุมทันที