อัจเจกะ คือ
- ว. ผิดปรกติ, บังเอิญเป็น; รีบร้อน; จำเป็น. (ป.).
- เจ น. อาหารที่ไม่ปรุงด้วยเนื้อสัตว์ และผักบางชนิดเช่นกระเทียม กุยช่าย ผักชี, แจ ก็ว่า. ( จ. ว่า แจ).
- จก ก. ฉก เช่น ระวังงูจะจกเอา, ล้วง เช่น รู้สึกเหมือนกับว่ามีมือใครมาจกกระเป๋า, ควัก เช่น น้องคงแอบมาจกเงินไป ๕๐๐ บาท, ขุด เช่น จกแรง ๆ หน่อย
- กะ พยางค์หน้าอันใช้เป็น กระ- ได้, แต่มีบางคำซึ่งต้องการพยางค์นี้เพื่อสละสลวยหรือเน้นคำให้เด่นขึ้น เช่น เกริก เป็น กะเกริก, หรือเกิดเป็นพยางค์หน้าขึ้น
- ปัจเจก ปัดเจก, ปัดเจกะ-, ปัดเจกกะ- (แบบ) ว. เฉพาะตัว, เฉพาะบุคคล, เช่น ปัจเจกชน. (ป.).
- ปัจเจก- ปัดเจก, ปัดเจกะ-, ปัดเจกกะ- (แบบ) ว. เฉพาะตัว, เฉพาะบุคคล, เช่น ปัจเจกชน. (ป.).
- ปัจเจกชน คน บุคคล ปัจเจกบุคคล แต่ละคน
- ปัจเจกนิยม n. ลัทธิเฉพาะบุคคล, การทำสิ่งใดโดยไม่ตามใคร ชื่อพ้อง: ลัทธิปัจเจกนิยม ตัวอย่างการใช้: ภาษาและถ้อยคำสำนวนที่สะท้อนโลกทัศน์ของความเป็นปัจเจกนิยมได้แก่ เอาตัวรอด ตัวใครตัวมัน clf.: ลัท
- ปัจเจกบุคคล ปัดเจกกะ- น. บุคคลแต่ละคน.
- ปัจเจกพุทธะ ปัดเจกกะ- น. ชื่อพระพุทธเจ้าพวกหนึ่งที่ตรัสรู้เฉพาะตัว มิได้สั่งสอนผู้อื่น. (ป.).
- ปัจเจกภาพ n. ความเป็นอยู่โดยเอกเทศ, ความผิดแผกแตกต่างจากคนอื่น, ความแตกต่างจากกัน ตัวอย่างการใช้: เสฐียรโกเศศได้กล่าวไว้ว่า ชาติที่ต้องสูญเสียปัจเจกภาพแห่งชาติไปก็เพราะวัฒนธรรมของชาตินั้นเสื่อมโท
- ปัจเจกโพธิ ปัดเจกกะโพด น. ความตรัสรู้เฉพาะตัว คือ ความตรัสรู้ของพระปัจเจกพุทธเจ้า. (ป.).
- ป้จเจกชน ปัจเจก ปัจเจกบุคคล
- ปัจเจกสมาทาน ปัดเจกะสะมาทาน น. การสมาทานศีลทีละสิกขาบท เรียกว่า ปัจเจกสมาทาน, ถ้าสมาทานรวบท้าย เช่นว่า พุทฺธปญฺตฺตํ อุโปสถํ สมาทิยามิ หรือ อฏฺ สีลานิ สมาทิยามิ เรียกว่า เอกัชฌสมาทาน. (ป.).
- ลัทธิปัจเจกนิยม ปัจเจกนิยม
- ผู้ที่ใช้อํานาจเผด็จการ ผู้ที่เผด็จการ