ความใส่ใจ คือ
สัทอักษรสากล: [khwām sai jai]การออกเสียง: ความใส่ใจ การใช้"ความใส่ใจ" อังกฤษ"ความใส่ใจ" จีน
- n.
การเอาใจใส่จดจ่อ, การให้ความสนใจ
ชื่อพ้อง: ความเอาใจใส่, ความตั้งใจ
ตัวอย่างการใช้: นายกรัฐมนตรีให้ความใส่ใจกับการแก้ปัญหาที่สำคัญของประเทศ
- ค: พยัญชนะตัวที่ ๔ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กกในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น โรค มรรค มารค เทคนิค.
- ความ: คฺวาม น. เรื่อง เช่น เนื้อความ เกิดความ; อาการ เช่น ความทุกข์ ความสุข; คดีที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล; คำนำหน้ากริยาหรือวิเศษณ์เพื่อแสดงสภาพ เช่น
- ความใส: ความกระจ่าง ความใสสะอาด ความชัดแจ้ง ความสะอาด
- ว: พยัญชนะตัวที่ ๓๗ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นพยัญชนะต้น เช่น วัน วา ใช้ควบกล้ำกับพยัญชนะตัวอื่นบางตัว เช่น กว่า ความ และใช้เป็นตัวสะกดในแม่เกอว เช่น
- วา: ๑ น. มาตราวัดตามวิธีประเพณี เท่ากับ ๔ ศอก มีอัตราเท่ากับ ๒ เมตร, อักษรย่อว่า ว. ก. กิริยาที่กางแขนเหยียดตรงออกทั้ง ๒ ข้าง. ๒ น.
- วาม: วามะ- ว. ซ้าย, ข้างซ้าย. ( ป. , ส. ). ๑ ว. เป็นแสงเรือง ๆ อย่างแสงหิ่งห้อย เช่น น้ำเคี้ยวยูงว่าเงี้ยว ยูงตาม ทรายเหลือบหางยูงงาม ว่าหญ้า
- ม: พยัญชนะตัวที่ ๓๓ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กม.
- ใส: ว. แจ่มกระจ่าง เช่น ฟ้าใส, ไม่ขุ่น, ไม่มัว, เช่น น้ำใส กระจกใส.
- ใส่: ก. สวม เช่น ใส่เสื้อ ใส่กางเกง, เอาไว้ข้างในภาชนะหรือสถานที่เป็นต้น เช่น กรอกน้ำใส่ขวด นำนักโทษไปใส่คุก, บรรทุก เช่น เอาสินค้าใส่รถ.
- ใส่ใจ: ก. ใส่ไว้ในใจ, จดจำ, เช่น จำใส่ใจไว้ให้ดีนะ, เอาใจจดจ่อ เช่น นักเรียนควรใส่ใจในการศึกษาเล่าเรียนให้มาก.
- ส: ๑ พยัญชนะตัวที่ ๔๐ เป็นพวกอักษรสูง ใช้ได้ทั้งเป็นพยัญชนะตัวต้นและตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น สวย สงสาร สวิตช์ รส
- ใจ: น. สิ่งที่ทำหน้าที่รู้ รู้สึก นึก และคิด เช่น ใจก็คิดว่าอย่างนั้น, หัวใจ เช่น ใจเต้น, ลมหายใจ เช่น กลั้นใจ อึดใจ หายใจ, ความรู้สึกนึกคิด เช่น ใจคด
- จ: พยัญชนะตัวที่ ๘ เป็นตัวต้นวรรคที่ ๒ นับเป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น กิจ วินิจฉัย ตำรวจ จอร์จ.