ประสูติ คือ
สัทอักษรสากล: [pra sūt]การออกเสียง: ประสูติ การใช้"ประสูติ" อังกฤษ"ประสูติ" จีน
ปฺระสูด, ปฺระสูติ-
(ราชา) น. การเกิด; การคลอด.
ก. เกิด; คลอด. (ส. ปฺรสูติ; ป. ปสูติ).
- ป: พยัญชนะตัวที่ ๒๗ เป็นพวกอักษรกลาง เป็นตัวสะกดในแม่กบในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น บาป เนปจูน, ตัว ป
- ปร: ปะระ-, ปอระ- ว. อื่น, ใช้เป็นบทหน้าสมาส เช่น ปรปักษ์ ปรโลก. ( ป. ).
- ประ: ปฺระ ใช้เติมหน้าคำอื่นเพื่อให้คำหนักแน่นขึ้น เช่น ชิด เป็น ประชิด, ท้วง เป็น ประท้วง; คำที่แผลงมาจาก ผ เช่น ผทม เป็น ประทม แล้วแผลง ประ เป็น บรร
- ประสูต: ปฺระสูด ( แบบ ) ก. ขวนขวาย. ( ส. ปฺรสูต; ป. ปสุต).
- ร: พยัญชนะตัวที่ ๓๕ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กน, ถ้าเขียนตัว ร ควบกัน ๒ ตัว เรียกว่า ร หัน ร ตัวหน้าทำหน้าที่เหมือนไม้หันอากาศ ร
- ระ: ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
- ส: ๑ พยัญชนะตัวที่ ๔๐ เป็นพวกอักษรสูง ใช้ได้ทั้งเป็นพยัญชนะตัวต้นและตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น สวย สงสาร สวิตช์ รส
- สู: ๑ ( วรรณ ) ว. อาย เช่น มาเดียวเปลี่ยวอกอ้า อายสู. ( ตะเลงพ่าย ). ๒ ( โบ ) ส. ท่าน, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒.
- สูต: น. ผู้ขับรถหรือนายม้าต้น, สารถี. ( ป. , ส. ).
- สูติ: สู-ติ- น. การเกิด, กำเนิด, การคลอดบุตร. ( ส. ).
- ู: การเต้นในจังหวะเพลงเร็ว
- ต: พยัญชนะตัวที่ ๒๑ นับเป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น จิต เมตตา ฟุต.
- ติ: ก. ชี้ข้อบกพร่อง.
- ิ: ชุดที่เสื้อและกางเกงเย็บติดเป็นชิ้นเดียวกัน มนุษยชาติ แพนงเชิง