มัชฌิมภูมิ คือ
-พูม
น. ภูมิหรือชั้นของคนชั้นกลาง, ในคณะสงฆ์หมายถึงภิกษุที่มีพรรษาตั้งแต่ ๕ ถึง ๙, ภิกษุจัดเป็น ๓ ชั้น ชั้นต้น คือ นวกภูมิ (ชั้นใหม่) มีพรรษาต่ำกว่า ๕, ชั้นกลาง คือ มัชฌิมภูมิ, และชั้นสูง คือ เถรภูมิ (ชั้นพระเถระ) มีพรรษาตั้งแ+모두 보이기...
- ม: พยัญชนะตัวที่ ๓๓ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กม.
- มัช: มัดชะ- น. น้ำเมา, ของเมา. ( ป. มชฺช).
- มัชฌ: มัดชะ- น. ท่ามกลาง. ( ป. ; ส. มธฺย).
- มัชฌิม: มัดชิมะ-, มัดชิมมะ-, มัดชิม- ว. ปานกลาง. ( ป. มชฺฌิม).
- ั: ชั่วคราว
- ช: ๑ พยัญชนะตัวที่ ๑๐ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น ราช คช กริช แซนด์วิช. ๒ ในภาษาบาลีและสันสกฤต
- ฌ: พยัญชนะตัวที่ ๑๒ นับเป็นพวกอักษรต่ำ.
- ิ: ชุดที่เสื้อและกางเกงเย็บติดเป็นชิ้นเดียวกัน มนุษยชาติ แพนงเชิง
- ภ: พยัญชนะตัวที่ ๓๒ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กบในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต เช่น ปรารภ ลาภ.
- ภู: ๑ น. ดิน, แผ่นดิน, โลก. ( ป. , ส. ). ๒ น. เนินที่สูงขึ้นเป็นจอม, เขา.
- ภูม: น. บ้าน. ( ข. ).
- ภูมิ: ๑ พูม, พูมิ-, พูมมิ- น. แผ่นดิน, ที่ดิน. ๒ พูม น. พื้น, ชั้น, พื้นเพ; ความรู้ เช่น อวดภูมิ อมภูมิ. ๓ พูม ว. สง่า, โอ่โถง, องอาจ,
- ู: การเต้นในจังหวะเพลงเร็ว
- มิ: ๑ ว. ไม่ เช่น มิทราบ มิควร มิบังอาจ. ๒ ก. เฉย, ไม่ค่อยพูดจา, เช่น รามสูรได้ยินสิ้นสติลงนั่งมิจะทำกระไรได้. (บทระบำตลก พระราชนิพนธ์ ร.๕).