มึนตึง คือ
สัทอักษรสากล: [meun teung]การออกเสียง: มึนตึง การใช้"มึนตึง" อังกฤษ"มึนตึง" จีน
- ก. แสดงอาการออกจะโกรธ ๆ ไม่พูดด้วย ไม่มองหน้า.
- ม: พยัญชนะตัวที่ ๓๓ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กม.
- มึน: ก. เมาอ่อน ๆ, รู้สึกวิงเวียน เช่น มึนศีรษะ, รู้สึกตื้อในสมอง เช่น อ่านหนังสือมากชักมึน, มึนหัว ก็ว่า.
- น: ๑ พยัญชนะตัวที่ ๒๕ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กน. ๒ น. ชื่อคณะฉันท์ มีลหุล้วน เรียกว่า น คณะ, ย่อจากคำว่า นภ (ฟ้า).
- ต: พยัญชนะตัวที่ ๒๑ นับเป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น จิต เมตตา ฟุต.
- ตึ: ว. ลักษณะกลิ่นเหม็นอย่างหนึ่งคล้ายกลิ่นเนื้อแห้ง, มักใช้ประกอบกับคำ เหม็น เป็น เหม็นตึ.
- ตึง: ๑ ว. ไม่หย่อน เช่น เชือกตึง เส้นตึง, ค่อนข้างคับ เช่น เสื้อแขนตึง; มีอาการออกจะโกรธ ๆ เช่น หมู่นี้ดูตึงไป. ๒ ว. เสียงดังอย่างของหนัก ๆ
- ง: พยัญชนะตัวที่ ๗ นับเป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กง.