สรทึง คือ
สฺระ-
(กลอน) น. แม่น้ำ, ใช้ว่า จทึง ฉทึง ชทึง ชรทึง สทิง หรือ สทึง ก็มี. (ข. สฺทึง ว่า คลอง).
- ส: ๑ พยัญชนะตัวที่ ๔๐ เป็นพวกอักษรสูง ใช้ได้ทั้งเป็นพยัญชนะตัวต้นและตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น สวย สงสาร สวิตช์ รส
- สร: สฺระ- คำนำหน้าคำอื่นที่ใช้ในบทกลอนเพื่อความสละสลวย เช่น ดื่น เป็น สรดื่น, คำที่แผลงมาจากคำที่ขึ้นต้นด้วยตัว ส ซึ่งใช้ในบทกลอน เช่น สนุก เป็น
- ร: พยัญชนะตัวที่ ๓๕ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กน, ถ้าเขียนตัว ร ควบกัน ๒ ตัว เรียกว่า ร หัน ร ตัวหน้าทำหน้าที่เหมือนไม้หันอากาศ ร
- รท: รด, ระทะนะ น. ฟัน, งา, เช่น ทวิรท = สัตว์ ๒ งา คือ ช้าง. ( ป. , ส. ).
- ท: ๑ พยัญชนะตัวที่ ๒๓ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น ประมาท บท ธาตุบิสมัท. ๒ ใช้ประสมกับตัว ร
- ง: พยัญชนะตัวที่ ๗ นับเป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กง.