สวัสติกะ คือ
สัทอักษรสากล: [sa wat ti ka]การออกเสียง: สวัสติกะ การใช้"สวัสติกะ" อังกฤษ"สวัสติกะ" จีน
สะหฺวัดติกะ
น. สัญลักษณ์รูปกากบาทปลายหักมุมเวียนขวา ใช้เป็นเครื่องหมายแสดงความสุขสวัสดีมาแต่โบราณ สันนิษฐานกันว่าเป็นรูปดวงอาทิตย์โคจรเวียนขวา. (ส. สฺวสฺติกา).
- ส: ๑ พยัญชนะตัวที่ ๔๐ เป็นพวกอักษรสูง ใช้ได้ทั้งเป็นพยัญชนะตัวต้นและตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น สวย สงสาร สวิตช์ รส
- สว: สะวะ- น. ของตนเอง. ( ส. ; ป. สก).
- สวัสติ: สะหฺวัดติ, สะวาตี น. ดาวฤกษ์ที่ ๑๕ มี ๕ ดวง เห็นเป็นรูปช้างพัง เหนียงผูกคอสุนัข ดวงแก้ว หรือ กระออมน้ำ, ดาวช้างพัง หรือ ดาวงูเหลือม ก็เรียก. (
- ว: พยัญชนะตัวที่ ๓๗ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นพยัญชนะต้น เช่น วัน วา ใช้ควบกล้ำกับพยัญชนะตัวอื่นบางตัว เช่น กว่า ความ และใช้เป็นตัวสะกดในแม่เกอว เช่น
- วัส: วัดสะ- น. ฝน, ฤดูฝน; ปี. ( ป. ; ส. วรฺษ).
- ั: ชั่วคราว
- สต: สะตะ- น. ร้อย (๑๐๐). ( ป. ; ส. ศต).
- สติ: สะติ น. ความรู้สึก, ความรู้สึกตัว, เช่น ได้สติ ฟื้นคืนสติ สิ้นสติ, ความรู้สึกผิดชอบ เช่น มีสติ ไร้สติ, ความระลึกได้ เช่น ตั้งสติ กำหนดสติ. ( ป.
- ต: พยัญชนะตัวที่ ๒๑ นับเป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น จิต เมตตา ฟุต.
- ติ: ก. ชี้ข้อบกพร่อง.
- ติก: ติกะ- ( แบบ ) น. หมวด ๓ คือ ที่รวมวัตถุหรือธรรมะอย่างละ ๓. ( ป. ).
- ติกะ: ติกะ- ( แบบ ) น. หมวด ๓ คือ ที่รวมวัตถุหรือธรรมะอย่างละ ๓. ( ป. ).
- ิ: ชุดที่เสื้อและกางเกงเย็บติดเป็นชิ้นเดียวกัน มนุษยชาติ แพนงเชิง
- ก: พยัญชนะตัวต้น เป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กก.
- กะ: พยางค์หน้าอันใช้เป็น กระ- ได้, แต่มีบางคำซึ่งต้องการพยางค์นี้เพื่อสละสลวยหรือเน้นคำให้เด่นขึ้น เช่น เกริก เป็น กะเกริก, หรือเกิดเป็นพยางค์หน้าขึ้น