สีเสียด คือ
สัทอักษรสากล: [sī sīet]การออกเสียง: สีเสียด การใช้"สีเสียด" อังกฤษ
- ๑
น. (๑) ชื่อไม้ต้นชนิด Acacia catechu Willd. ในวงศ์ Leguminosae กิ่งมีหนาม เนื้อไม้ให้สารที่เรียกว่า สีเสียด ใช้ผสมปูนกินกับหมาก ย้อมผ้า และฟอกหนัง, สีเสียดแก่น หรือ สีเสียดเหนือ ก็เรียก.
(๒) ชื่อไม้ต้นชนิด Pentace burmani+모두 보이기... Kurz ในวงศ์ Tiliaceae เปลือกรสขมฝาดใช้กินกับหมาก, สีเสียดเปลือก ก็เรียก.
๒
น. สารที่สกัดได้จากเนื้อไม้ของต้นสีเสียด (Acacia catechu Willd.) และใบกิ่งของต้นกะเมีย (Uncaria gambier Roxb.) ชนิดหลัง สีเสียดเทศ ก็เรียก.
๓
น. ชื่อปลาทะเลชนิด Scomberoides tol ในวงศ์ Carangidae ตัวเรียวเล็กกว่าปลาสละ ตาโต ลำตัวด้านบนสีน้ำเงิน ด้านข้างสีเงิน โคนหางสีเหลือง ปลายครีบหลังและครีบหางสีดำ ขนาดยาวได้ถึง ๕๐ เซนติเมตร, ขานกยาง ก็เรียก.
- ส: ๑ พยัญชนะตัวที่ ๔๐ เป็นพวกอักษรสูง ใช้ได้ทั้งเป็นพยัญชนะตัวต้นและตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น สวย สงสาร สวิตช์ รส
- สี: ๑ น. ชื่อเครื่องสำหรับหมุนบดข้าวเปลือกเพื่อทำให้เปลือกแตกเป็นข้าวกล้อง. ก. ถู เช่น ช้างเอาตัวสีกับต้นไม้ ลมพัดแรงทำให้ลำไม้ไผ่สีกัน, ครู่,
- ี: สีน้ําตาลแดง ตําแหน่งประธานาธิบดี ดินเหนียวสีน้ําตาลแดงใช้ในการปั้น โจมตีทางอากาศอย่างรวดเร็วและรุนแรง
- เส: ก. เฉ, ไถล, เช่น เสไปพูดเรื่องอื่น, เชือนแช เช่น เสความ.
- เสีย: ๑ ก. เสื่อมลงไป, ทำให้เลวลงไป, เช่น เสียเกียรติ เสียศักดิ์ศรี เสียชื่อ; สูญไป, หมดไป, สิ้นไป, เช่น เสียแขน เสียชีวิต เสียทรัพย์; ชำรุด เช่น
- เสียด: ก. เบียดกัน เช่น เจดีย์ระดะแซง เสียดยอด. ( นิ. นรินทร์ ); เสียบ, แทรก, แซง, เช่น สูงเสียดฟ้า;
- ย: พยัญชนะตัวที่ ๓๔ เป็นพวกอักษรต่ำ เป็นได้ทั้งตัวต้นและตัวสะกดในแม่เกย.
- ด: พยัญชนะตัวที่ ๒๐ นับเป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กด.