สุต- คือ
- ๒
สุตะ-, สุดตะ-
ก. ได้ยิน, ได้ฟังแล้ว.
- ส: ๑ พยัญชนะตัวที่ ๔๐ เป็นพวกอักษรสูง ใช้ได้ทั้งเป็นพยัญชนะตัวต้นและตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น สวย สงสาร สวิตช์ รส
- สุ: ๑ ก. ซักสบงจีวรวิธีหนึ่งโดยใช้น้ำร้อนหรือมะกรูดมะนาวเป็นต้น, มักใช้ว่า ซักสุ. ๒ ว. เสีย แต่ยังไม่เน่า (มักใช้แก่แตงโม) เช่น แตงโมใบนี้สุแล้ว
- สุต: สุตะ-, สุดตะ- ก. ได้ยิน, ได้ฟังแล้ว. ๑ สุด น. ลูกชาย (มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส). ( ป. , ส. ).
- ุ: คําตัดสินสุดท้าย
- ต: พยัญชนะตัวที่ ๒๑ นับเป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น จิต เมตตา ฟุต.