สุรางคนา คือ
- ๑
น. นางสวรรค์. (ส.).
๒
น. ชื่อกาพย์และฉันท์ มี ๒๘ คำ คือ มี ๗ วรรค วรรคละ ๔ คำ เช่น
ตัวอย่างกาพย์
อย่าเยี่ยงหญิงชั่ว ไป่รู้คุณผัว ไม่กลัวความอาย
ลิ้นลมข่มคำ ห่อนยำเยงชาย จงจิตรคิดหมาย
มุ่งร้ายภรรดา.
(<+모두 보이기... ),
ตัวอย่างฉันท์
ชะอมชะบา มะกอกมะกา มะค่าและแค
ตะขบตะค้อ สมอแสม มะกล่ำสะแก
ก็แลไสว.
(หลักภาษาไทย),
ถ้าเป็นกาพย์ขับไม้มี ๓๖ คำ เช่น
กรุงเทพเทียมทัด เทพไทเธอจัด สร้างสิ้นทั้งหลาย
แทบทางวางรุกข์ ร่มเย็นเป็นสุข แซ่ซร้องหญิงชาย
ไปมาค้าขาย ออกร้านเรียงราย รื่นเริงสำราญ.
(กาพย์ขับไม้ กล่อมพระเศวตรัตนกรีฯ).
- ส: ๑ พยัญชนะตัวที่ ๔๐ เป็นพวกอักษรสูง ใช้ได้ทั้งเป็นพยัญชนะตัวต้นและตัวสะกดในแม่กดในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น สวย สงสาร สวิตช์ รส
- สุ: ๑ ก. ซักสบงจีวรวิธีหนึ่งโดยใช้น้ำร้อนหรือมะกรูดมะนาวเป็นต้น, มักใช้ว่า ซักสุ. ๒ ว. เสีย แต่ยังไม่เน่า (มักใช้แก่แตงโม) เช่น แตงโมใบนี้สุแล้ว
- สุร: -ระ- น. เทวดา. ว. ทิพย์. ( ป. , ส. ).
- สุรา: น. เหล้า, น้ำเมาที่ได้จากการกลั่น, (มักใช้เป็นทางการ), เช่น ร้านนี้ขายแต่สุราต่างประเทศ. ( ป. , ส. ).
- ุ: คําตัดสินสุดท้าย
- ร: พยัญชนะตัวที่ ๓๕ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กน, ถ้าเขียนตัว ร ควบกัน ๒ ตัว เรียกว่า ร หัน ร ตัวหน้าทำหน้าที่เหมือนไม้หันอากาศ ร
- รา: ๑ น. ไม้ที่กระหนาบอยู่ใต้ท้องพรึงรับพื้นเรือนเพื่อไม่ให้พื้นอ่อน อยู่ระหว่างรอด; ไม้จีมเสาที่ปากหลุมซึ่งยังไม่ได้กลบดินเพื่อกันไม่ให้โอนเอน
- ราง: ๑ น. ร่องที่ขุดเป็นทางสำหรับให้น้ำไหล; สิ่งสำหรับรองน้ำฝนที่ชายคาเป็นต้น มักทำด้วยสังกะสียาวเป็นแนวไปตามชายคา; ไม้ที่ขุดหรือต่อให้เป็นร่องยาว ๆ
- ง: พยัญชนะตัวที่ ๗ นับเป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กง.
- ค: พยัญชนะตัวที่ ๔ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กกในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้น เช่น โรค มรรค มารค เทคนิค.
- คน: ๑ น. มนุษย์. ๒ ก. กิริยาที่เอามือหรือสิ่งอื่นกวนเพื่อทำสิ่งที่นอนก้นหรือที่เกาะกันอยู่เป็นกลุ่มเป็นก้อนให้กระจายขยายตัว หรือกวนสิ่งต่าง ๆ
- น: ๑ พยัญชนะตัวที่ ๒๕ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กน. ๒ น. ชื่อคณะฉันท์ มีลหุล้วน เรียกว่า น คณะ, ย่อจากคำว่า นภ (ฟ้า).
- นา: ๑ น. พื้นที่ราบทำเป็นคันกั้นน้ำเป็นแปลง ๆ สำหรับปลูกข้าวเป็นต้น, พื้นที่มีลักษณะคล้ายนาสำหรับทำประโยชน์อื่น ๆ เรียกตามสิ่งที่ทำ เช่น นาเกลือ