เขมาโกรย คือ
ขะเหฺมาโกฺรย
น. ชื่อปลาชนิดหนึ่งมีหลังดำ. (ข. ใช้ในความว่า หลังดำ). (พจน. ๒๔๙๓).
- เข: ๑ ว. เหล่น้อย (ใช้แก่ตา). ๒ ดู แกแล .
- เขม: เขมะ-, เข-มา น. เกษม, ความสบายใจ, ความพ้นภัย. ( ป. ; ส. เกฺษม).
- เขมา: ๑ เขมะ-, เข-มา น. เกษม, ความสบายใจ, ความพ้นภัย. ( ป. ; ส. เกฺษม). ๒ ขะเหฺมา น. โกฐเขมา. ( ดู โกฐเขมา ). ( ข. เขฺมา ว่า ดำ).
- ข: พยัญชนะตัวที่ ๒ เป็นพวกอักษรสูง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กกในคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤต.
- ขม: ๑ ว. รสอย่างหนึ่งอย่างรสสะเดาหรือบอระเพ็ด. ๒ น. (๑) ชื่อไม้ล้มลุกในสกุล Amaranthus วงศ์ Amaranthaceae มีหลายชนิด เช่น ผักขมหนาม ( A.
- ขมา: ขะมา ก. กล่าวคำขอโทษ เช่น ไปขมาศพ. น. การยกโทษให้เมื่ออีกฝ่ายหนึ่งยอมรับผิด เช่น ขอขมา, ษมา ก็ใช้. ( ป. ; ส. กฺษมา).
- ม: พยัญชนะตัวที่ ๓๓ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กม.
- มา: ๑ น. พระจันทร์. ( ป. ; ส. มาสฺ). ๒ ก. เคลื่อนออกจากที่เข้าหาตัวผู้พูด เช่น มานี่ มาหาฉันหน่อย, ตรงกันข้ามกับ ไป. ว.
- โก: พี่
- โกรย: โกฺรย น. หลัง เช่น โจนบหลยวโกรยเกรง ท่านข้า. ( ยวนพ่าย ), อกกระอุกรยมโกรย กระด้าง. ( ทวาทศมาส ). ( ข. ).
- ก: พยัญชนะตัวต้น เป็นพวกอักษรกลาง ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กก.
- กร: ๑ กอน น. ผู้ทำ, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. ( ป. ). ๒ กอน น. มือ (มักใช้ในบทประพันธ์); แขน เช่น
- ร: พยัญชนะตัวที่ ๓๕ เป็นพวกอักษรต่ำ ใช้เป็นตัวสะกดในแม่กน, ถ้าเขียนตัว ร ควบกัน ๒ ตัว เรียกว่า ร หัน ร ตัวหน้าทำหน้าที่เหมือนไม้หันอากาศ ร
- ย: พยัญชนะตัวที่ ๓๔ เป็นพวกอักษรต่ำ เป็นได้ทั้งตัวต้นและตัวสะกดในแม่เกย.