คริสต์ศตวรรษ การใช้
- คริสต์ศตวรรษที่ ๑๔ (ขวา) ถึง ๑๗ โต๊ะลงรักฝังมุก
- ยุคของราชอาณาจักรใหม่คริสต์ศตวรรษที่สิบหก
- จานกระเบื้องลายครามจาก คริสต์ศตวรรษที่ ๑๗
- ขวา: ถ้วยชามเบญจรงค์จากคริสต์ศตวรรษที่ ๑๘
- พระพุทธรูป สมัยอยุธยา คริสต์ศตวรรษที่ ๑๘
- ครึ่งแรกของคริสต์ศตวรรษที่ ๑๙.
- ครึ่งแรกของคริสต์ศตวรรษที่ ๑๙.
- เครื่องเบญจรงค์และลายน้ำทองแบบไทย-จีนจากครึ่งแรกของคริสต์ศตวรรษที่ ๑๙.
- เครื่องเบญจรงค์และลายน้ำทองแบบไทย-จีนจากครึ่งแรกของคริสต์ศตวรรษที่ ๑๙.
- "วังหนู" ฝีมือช่างแกะสลักชาวจีนในคริสต์ศตวรรษที่ ๑๙ เพื่อเอาไว้เลี้ยงหนูขาว
- กระเบื้องลายครามรูปกลมจากเมืองจีน คริสต์ศตวรรษที่ ๑๙ เขียนลายเป็นภาพโรงงาน
- " วังหนู " ฝีมือช่างแกะสลักชาวจีนในคริสต์ศตวรรษที่ ๑๙ เพื่อเอาไว้เลี้ยงหนูขาว
- เศียรพระพุทธรูปเป็นหินทรายสีเนื้อสมัยอยุธยาศิลปะแบบอู่ทอง ปลายคริสต์ศตวรรษที่ ๑๓
- แผนที่ราชอาณาจักรสยามและประเทศเพื่อนบ้านที่ฝรั่งเศสทำขึ้นใน สมัยคริสต์ศตวรรษที่ ๑๗
- คริสต์ศตวรรษที่ ๑๙
- บ้านเล็กๆหน้าตาประหลาดจากคริสต์ศตวรรษที่ ๑๙ ใช้เป็นที่เลี้ยงหนูขาวตัวเล็กๆ หนูขาววิ่งพล่านไปทั่วบ้านหนูสร้างความเพลิดเพลินให้กับเด็กๆอยู่นานนับชั่วโมง
- ต่อมา จิม ทอมป์สันตัดสินใจจะสะสมของเก่าที่ส่งมาจากเมืองจีนที่ยังไม่ค่อยมีใครรู้จักดีนัก ส่วนใหญ่เป็นเครื่องลายครามซึ่งหลายชิ้นส่งมาถึงเมืองไทยในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ ๑๖ และ ๑๗
- ส่วนที่เก่าแก่ที่สุดของเรือนใหญ่เป็นเรือนสมัยต้นคริสต์ศตวรรษที่ ๑๙ ซึ่งได้มาจากหมู่บ้านช่างทอผ้าไหมบ้านครัว ที่ตั้งอยู่ริมฝั่งคลองฟากตรงข้าม ส่วนนี้นำมาใช้ทำเป็นห้องนั่งเล่น
- พระพุทธรูปปางนาคปรกแกะจากหินทรายสีเนื้อ ขนาดสูง ๘๐ ซม. จากสมัย ลพบุรี คริสต์ศตวรรษที่ ๑๓ ได้มาจากจังหวัดสุพรรณบุรี พระพักตร์ที่ทรง ใคร่ครวญ พระเนตรหลับช่วยกำหนดลักษณะว่าเป็นงานศิลปกรรมแบบบายน
- พระวรกายของพระพุทธรูปปูนปั้นสมัยทวาราวดี ตั้งแสดงไว้ในพื้นที่โล่ง ใต้ถุนใน บ้านส่วนที่เป็นห้องอาหาร พระพุทธรูปนี้มีอายุตั้งแต่สมัยคริสต์ศตวรรษที่ ๗ หรือ ๘ พบอยู่ที่จังหวัดลพบุรีในภาคกลางของประเทศไทย
- ตัวอย่างการใช้เพิ่มเติม: 1 2