ผู้ปฏิรูป คือ
สัทอักษรสากล: [phū pa ti rūp] การออกเสียง:
"ผู้ปฏิรูป" การใช้"ผู้ปฏิรูป" อังกฤษ"ผู้ปฏิรูป" จีน
ความหมายมือถือ
- ผู้ฟื้นฟู
มิชชั่นนารีแรกหรือที่รู้จักกันดีที่สุดของประเทศหรือท้องถิ่นนั้น
สาวกของพระเยซูคริสต์
- ผู้ น. คำใช้แทนบุคคล เช่น นายกรัฐมนตรีเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ หรือใช้แทนคำว่า คน เช่น ผู้นั้น ผู้นี้ ทุกผู้ทุกนาม หรือใช้แทนสิ่งที่ถือเสมือนคน
- ปฏิ คำอุปสรรคในภาษาบาลีใช้นำหน้าศัพท์อื่น แปลว่า เฉพาะ, ตอบ, ทวน, กลับ. ( ป. ; ส. ปฺรติ).
- ปฏิรูป -รูบ, -รูปะ- ว. สมควร, เหมาะสม, เช่น ปฏิรูปเทส คือ ถิ่นที่สมควร หรือ ถิ่นที่เหมาะสม; เทียม, ไม่แท้, เช่น มิตรปฏิรูป. ก. ปรับปรุงให้สมควร เช่น
- รู น. ช่อง เช่น รูเข็ม ผ้าขาดเป็นรู, ช่องที่ลึกเข้าไปในสิ่งต่าง ๆ เช่น รูหู รูจมูก รูปู รูงู.
- รูป รูบ, รูบปะ- น. สิ่งที่รับรู้ได้ด้วยตา เป็นขันธ์ ๑ ในขันธ์ ๕ คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ, ร่าง เช่น โครงรูป, ร่างกาย เช่น รูปตัวคน
- ปฏิรูป- -รูบ, -รูปะ- ว. สมควร, เหมาะสม, เช่น ปฏิรูปเทส คือ ถิ่นที่สมควร หรือ ถิ่นที่เหมาะสม; เทียม, ไม่แท้, เช่น มิตรปฏิรูป. ก. ปรับปรุงให้สมควร เช่น ปฏิรูปบ้านเมือง. (ป.).
- ซึ่งปฏิรูป ซึ่งปรับปรุงใหม่ ซึ่งเปลี่ยนแปลงใหม่
- นักปฏิรูป นักปฏิรูปสังคม นักต่อสู้เพื่อความดี
- การปฏิรูป n. การปรับปรุงให้เหมาะสมตามสมควร ชื่อพ้อง: การปรับปรุง ตัวอย่างการใช้: ทางการได้นำการปฏิรูปแนวใหม่มาเริ่มดำเนินการกับระบบข้าราชการไทย
- ธรรมปฏิรูป น. ธรรมเทียม, สิ่งที่ไม่ใช่ธรรมแท้.
- เป็นการปฏิรูป เป็นการดัดนิสัย เป็นการปรับปรุง
- ปฏิปักษ์ น. ฝ่ายตรงกันข้าม, ข้าศึก, ศัตรู. ว. ที่ตรงกันข้าม เช่น ฝ่ายปฏิปักษ์. (ส. ปรฺติปกฺษ; ป. ปฏิปกฺข).
- ปฏิปัน (แบบ) น. ผู้ดำเนินไปแล้ว, ผู้บรรลุแล้ว, ผู้ตรัสรู้แล้ว. (ป. ปฏิปนฺน).
- ปีปฏิทิน น. ระยะเวลาตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคมถึงวันที่ ๓๑ ธันวาคม; (กฎ) กำหนดระยะเวลา ๑๒ เดือน เริ่มแต่วันที่ ๑ มกราคม และสิ้นสุดในวันที่ ๓๑ ธันวาคม.
- ผู้ปฏิบัตʼ ผู้ประกอบการงาน ผู้มีประสบการณ์