มหาสาวก คือ
"มหาสาวก" การใช้
- น. พระสาวกชั้นผู้ใหญ่ของพระพุทธเจ้า ๘๐ องค์ ซึ่งรวมพระอัครสาวกทั้ง ๒ องค์เข้าไว้ในจำนวนนั้นด้วย. (ป.; ส. มหาศฺราวก).
- มหา ๑ ว. ใหญ่, ยิ่งใหญ่, มักใช้เป็นส่วนหน้าของสมาส บางทีก็ลดรูปเป็น มห เช่น มหรรณพ มหัทธนะ มหัศจรรย์. ๒ น.
- หา ๑ ก. มุ่งพบ, พบ, เช่น ไปหาหมอ เพื่อนมาหา; เยี่ยม, เยี่ยมเยียน, เช่น เพิ่งทราบว่าครูกำลังป่วย ต้องไปหาท่านเสียหน่อย; ฟ้อง, กล่าวโทษ, เช่น
- สา ๑ น. หมา. ( ป. ; ส. ศฺวนฺ). ๒ ( ถิ่น-พายัพ ) น. ต้นกระสา. ( ดู กระสา ๓ ), ชื่อกระดาษที่ทำจากเปลือกต้นกระสา ใช้ทำร่มเป็นต้น เรียกว่า
- สาว สาวะ- ว. สีดำแดง, สีน้ำตาลแก่. ( ป. ; ส. ศฺยาว). ๑ น. หญิงที่มีอายุพ้นวัยเด็ก นับตามความนิยมตั้งแต่ ๑๕-๓๐ ปีขึ้นไป เช่น ย่างเข้าสู่วัยสาว
- สาวก น. ศิษย์ของศาสดา. ( ป. ; ส. ศฺราวก).
- วก ก. หักเลี้ยวกลับ เช่น รถเลยที่หมายแล้ววกกลับ, ในบทกลอนใช้แผลงเป็น พก ก็มี.
- อสีติมหาสาวก น. สาวกใหญ่ ๘๐ องค์ของพระพุทธเจ้า. (ป.).
- สามหาว ๑ ว. หยาบคาย, โอหังก้าวร้าวผู้หลักผู้ใหญ่, (ใช้แก่วาจา) เช่น เด็กพูดจาสามหาวกับผู้ใหญ่. ๒ (ราชา) น. เรียกผักตบชนิด Monochoria hastata (L.) Solms. ว่า ผักสามหาว เช่น นางสงกรานต์ทัดดอกสามหาว.
- คนสามหาว คนหยาบคาย คนต่ำช้า คนธรรมดา ๆ
- ผักสามหาว (ราชา) น. ผักตบชนิด Monochoria hastata Solms.
- เหล่าสาวก สาวก ผู้ติดตาม ผู้ติดตามผลงาน
- มหาสารคาม n. ชื่อจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ตัวอย่างการใช้: ผมเดินทางไปมหาสารคาม เพื่อรับนักท่องเที่ยวสหรัฐ
- ความสามหาว คำหยาบ นิสัยหยาบคาย ภาษาหยาบคาย ลักษณะธรรมดา ๆ สิ่งที่หยาบคาย
- มหาวิหาร โบสถ์สำคัญ
- เกี่ยวกับเจ้าสาว ซึ่งเกี่ยวกับการแต่งงาน เกี่ยวกับงานแต่งงาน
ประโยค
- ผมจะตามหาสาวกคนใหม่ ที่จะมาช่วยผม