สามิกะ คือ
- สา ๑ น. หมา. ( ป. ; ส. ศฺวนฺ). ๒ ( ถิ่น-พายัพ ) น. ต้นกระสา. ( ดู กระสา ๓ ), ชื่อกระดาษที่ทำจากเปลือกต้นกระสา ใช้ทำร่มเป็นต้น เรียกว่า
- สาม สามะ-, สามมะ- น. บทสรรเสริญ; การสรรเสริญ. ( ส. ). ๑ น. จำนวนสองบวกหนึ่ง; ชื่อเดือนจันทรคติ เรียกว่า เดือน ๓ ตกในราวเดือนกุมภาพันธ์.
- มิ ๑ ว. ไม่ เช่น มิทราบ มิควร มิบังอาจ. ๒ ก. เฉย, ไม่ค่อยพูดจา, เช่น รามสูรได้ยินสิ้นสติลงนั่งมิจะทำกระไรได้. (บทระบำตลก พระราชนิพนธ์ ร.๕).
- กะ พยางค์หน้าอันใช้เป็น กระ- ได้, แต่มีบางคำซึ่งต้องการพยางค์นี้เพื่อสละสลวยหรือเน้นคำให้เด่นขึ้น เช่น เกริก เป็น กะเกริก, หรือเกิดเป็นพยางค์หน้าขึ้น
- สากะ น. ผัก. (ป.; ส. ศาก).
- ปาสาทิกะ (แบบ) ว. นำมาซึ่งความเลื่อมใส; น่ารัก, น่าชม. (ป.).
- มสารกะ มะสาน, มะสาระกะ น. แก้วมรกต. (ส.).
- กะอาม น. กะอวม เช่น กะอามลั่นทมชวน ใจรื่น รมย์นา. (พงศ. เหนือ).
- อามลกะ -มะละกะ น. มะขามป้อม. (ป., ส.).
- สากกะเบือ น. สากไม้สำหรับตำข้าวเบือหรือน้ำพริกเป็นต้น, ใช้คู่กับ ครกกะเบือ.
- สาม- ๒ สามะ-, สามมะ- น. บทสรรเสริญ; การสรรเสริญ. (ส.).
- สามี น. ผัว, ชายที่เป็นคู่ครองของหญิง, คู่กับ ภรรยา หรือ ภริยา; นาย, เจ้าของ. (ป.; ส. สฺวามินฺ).
- ้สามี ผัว
- บุคคลผู้เที่ยวทิ้งสิ่งของระเกะระกะไปตามถนนหรือที่สาธารณะ ผู้ชอบทิ้งเศษกระดาษหรือสิ่งของบนถนน
- สามง่าม น. ไม้หรือเหล็กที่แยกออกเป็น ๓ แฉกเรียงอยู่ในแนวเดียวกัน, เรียกอาวุธที่มีปลายแหลมเป็น ๓ แฉกเรียงอยู่ในแนวเดียวกัน ด้ามยาว ว่า สามง่าม, เรียกสิ่งอื่น ๆ ที่มีลักษณะเช่นนั้น.