อนุสนธิ คือ
"อนุสนธิ" การใช้"อนุสนธิ" อังกฤษ"อนุสนธิ" จีน
- น. การต่อเนื่อง, การสืบเนื่อง. (ป.).
- อน อะนะ- เป็นคำปฏิเสธ แปลว่า ไม่, ไม่ใช่, ใช้ประกอบหน้าศัพท์บาลีและสันสกฤตที่ขึ้นต้นด้วยสระ เช่น อาทร = เอื้อเฟื้อ, อนาทร = ไม่เอื้อเฟื้อ. ( ดู อ ๒
- อนุ คำประกอบหน้าศัพท์บาลีหรือสันสกฤตมีความหมายว่า น้อย เช่น อนุทิศ = ทิศน้อย, ภายหลัง, รุ่นหลัง, เช่น อนุชน = ชนรุ่นหลัง, ตาม เช่น อนุวัต = เป็นไปตาม,
- นุ ๑ ( กลอน ) ตัดมาจากอุปสรรค อนุ เช่น ทราบนุสนธิ์ทุกแห่ง. ( ตะเลงพ่าย ); อเนกนุประการ. ( พงศ. เลขา ); โดยนุกรม. ( ม. คำหลวง วนปเวสน์). ๒ (
- สน ๑ น. ชื่อไม้ต้นหลายชนิดหลายสกุลในหลายวงศ์ เช่น สนสองใบ หรือ เกี๊ยะเปลือกหนา ( Pinus merkusii Jungh. de Vriese), สนสามใบ หรือ เกี๊ยะเปลือกบาง (
- สนธิ น. ที่ต่อ, การติดต่อ; การเอาศัพท์ตั้งแต่ ๒ ศัพท์ขึ้นไปมาเชื่อมเสียงให้กลมกลืนกันตามหลักที่ได้มาจากไวยากรณ์บาลีและสันสกฤต เช่น พจน + อนุกรม เป็น
- ปฏิสนธิ (แบบ) ก. เกิดในท้อง, ถือกำเนิด. (ป. ปฏิสนฺธิ).
- สนธนา พลบค่ํา ยามค่ํา ย่ําค่ํา เวลาเย็น
- สนธยา สนทะ- น. เวลาโพล้เพล้พลบค่ำ, บางทีใช้ว่า ย่ำสนธยา; ช่วงเวลาที่ต่อระหว่างกลางวันกับกลางคืน คือเวลาที่พระอาทิตย์ขึ้นหรือพระอาทิตย์ตก. (ส.).
- อนธ อนทะ-, -ทะ- ว. มืด, มืดมน; โง่, ทึบ; มองไม่เห็น, บอด. (ป., ส.).
- อนธ- อนทะ-, -ทะ- ว. มืด, มืดมน; โง่, ทึบ; มองไม่เห็น, บอด. (ป., ส.).
- บริคณห์สนธิ (กฎ) น. เอกสารก่อตั้งบริษัทจำกัดซึ่งผู้เริ่มก่อการบริษัทจำนวนตั้งแต่ ๗ คนขึ้นไป เข้าชื่อกันจัดทำขึ้นตามข้อกำหนดของกฎหมายในการจัดตั้งบริษัทจำกัด เรียกว่า หนังสือบริคณห์สนธิ.
- สนธิสัญญา น. หนังสือสัญญาที่สำคัญยิ่งและทำเป็นตราสารสมบูรณ์แบบ, ความตกลงระหว่างประเทศ; หนังสือสัญญาที่ทำขึ้นระหว่างประเทศเอกราชตั้งแต่ ๒ ประเทศขึ้นไป. (อ. treaty).
- อนุพันธ์ ว. ที่ติดต่อ, ที่เกี่ยวเนื่อง. (วิทยา) น. สิ่งที่เกี่ยวเนื่อง เช่น น้ำมันระกำเป็นอนุพันธ์ของสารฟีนอล. (ป., ส.).
- การปฏิสนธิ การทําให้เกิดลูก
- ยามสนธยา พลบค่ำ หัวค่ำ ยามเย็น ช่วงโพล้เพล้