เจ้าโวหาร คือ
"เจ้าโวหาร" อังกฤษ"เจ้าโวหาร" จีน
- คนชอบใช้สํานวนโวหาร
ชนชั้นอาจารย์ปรัชญาและศิลปะการพูด
ผู้ตัดสินปัญหาในสถานการณ์เฉพาะอย่าง
ผู้ศึกษาและถือหลักธรรมจริยา
เจ้าคารม
- เจ น. อาหารที่ไม่ปรุงด้วยเนื้อสัตว์ และผักบางชนิดเช่นกระเทียม กุยช่าย ผักชี, แจ ก็ว่า. ( จ. ว่า แจ).
- เจ้า ๑ น. ผู้เป็นใหญ่, ผู้เป็นหัวหน้า, เช่น เจ้านคร; เชื้อสายของกษัตริย์นับตั้งแต่ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไป, บางแห่งหมายถึงพระเจ้าแผ่นดินก็มี เช่น
- จ้า ว. จัด, ยิ่ง, แรง, (ใช้แก่สี แสง หรือเสียง) เช่น สีจ้า แสงจ้า.
- โว ( ปาก ) ก. พูดโอ้อวด เช่น โวมากไปหน่อยแล้ว. ว. โอ้อวด เช่น คุยโว.
- โวหาร น. ชั้นเชิงหรือสำนวนแต่งหนังสือหรือพูด เช่น มีโวหารดี, ถ้อยคำที่เล่นเป็นสำบัดสำนวน เช่น อย่ามาตีโวหาร เขาชอบเล่นโวหาร. ( ป. ).
- วหา น. แม่น้ำ. ( ส. ).
- หา ๑ ก. มุ่งพบ, พบ, เช่น ไปหาหมอ เพื่อนมาหา; เยี่ยม, เยี่ยมเยียน, เช่น เพิ่งทราบว่าครูกำลังป่วย ต้องไปหาท่านเสียหน่อย; ฟ้อง, กล่าวโทษ, เช่น
- หาร ๑ หาน ก. แบ่งส่วนเท่า ๆ กัน (ใช้แก่วิธีเลข). น. เรียกเครื่องหมายรูปดังนี้ ÷ ว่า เครื่องหมายหาร. ๒ หาน น. สิ่งที่เอาไปได้; การนำไป,
- พรรณนาโวหาร น. สำนวนเขียนที่กล่าวเป็นเรื่องราวอย่างละเอียดเพื่อให้ผู้อ่านนึกเห็นเป็นภาพ.
- อุปมาโวหาร น. สำนวนเขียนที่กล่าวถึงเรื่องราวโดยยกสิ่งต่าง ๆ ขึ้นมาเปรียบเทียบประกอบ.
- เทศนาโวหาร น. สำนวนเขียนที่เป็นไปในลักษณะการเทศนาของพระ.
- ตีโวหาร ตีฝีปาก ตีสํานวน เล่นสํานวน เล่นสําบัดสํานวน
- กัปปิยโวหาร น. โวหารที่ควรแก่ภิกษุ เช่น เรียกเงินตรา ว่า กัปปิยภัณฑ์, ถ้อยคำสำนวนที่เหมาะแก่กาลเทศะ.
- คำโวหาร คำปราศรัย คำสุนทรพจน์ ศิลปะแห่งการพูด ศิลปะการแสดงสุนทรพจน์
- สมณโวหาร น. ถ้อยคำที่ควรแก่สมณะ เช่น อาตมา ฉันจังหัน กัปปิยภัณฑ์. (ป.).