เทศนาโวหาร คือ
- น. สำนวนเขียนที่เป็นไปในลักษณะการเทศนาของพระ.
- เท ก. ตะแคงหรือเอียงภาชนะเพื่อให้สิ่งที่อยู่ในนั้นไหลลงไปหรือออกไป เช่น เทน้ำ เทขยะ, โดยปริยายหมายถึงกิริยาอาการคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ฝนตกลงมามาก ๆ
- เทศ เทด, เทดสะ-, เทสะ ว. ต่างประเทศ เช่น เครื่องเทศ ม้าเทศ. น. ถิ่นที่, ท้องถิ่น, มักใช้เป็นส่วนหน้าสมาส.
- เทศนา เทด, เทสะนา, เทดสะหฺนา น. การแสดงธรรมสั่งสอนในทางศาสนา. ก. แสดงธรรม เช่น พระเทศน์, ( ปาก ) โดยปริยายหมายความว่า ดุด่าว่ากล่าวอย่างยืดยาว เช่น
- ทศ ๑ ทด, ทดสะ- น. เรียกเหรียญทองสมัยรัชกาลที่ ๔ ชนิดหนึ่ง มีค่าเท่ากับ ๑ ใน ๑๐ ของชั่ง = ๘ บาท ว่า ทองทศ. ว. สิบ, มักใช้เป็นส่วนหน้าสมาส. ๒
- นา ๑ น. พื้นที่ราบทำเป็นคันกั้นน้ำเป็นแปลง ๆ สำหรับปลูกข้าวเป็นต้น, พื้นที่มีลักษณะคล้ายนาสำหรับทำประโยชน์อื่น ๆ เรียกตามสิ่งที่ทำ เช่น นาเกลือ
- โว ( ปาก ) ก. พูดโอ้อวด เช่น โวมากไปหน่อยแล้ว. ว. โอ้อวด เช่น คุยโว.
- โวหาร น. ชั้นเชิงหรือสำนวนแต่งหนังสือหรือพูด เช่น มีโวหารดี, ถ้อยคำที่เล่นเป็นสำบัดสำนวน เช่น อย่ามาตีโวหาร เขาชอบเล่นโวหาร. ( ป. ).
- วหา น. แม่น้ำ. ( ส. ).
- หา ๑ ก. มุ่งพบ, พบ, เช่น ไปหาหมอ เพื่อนมาหา; เยี่ยม, เยี่ยมเยียน, เช่น เพิ่งทราบว่าครูกำลังป่วย ต้องไปหาท่านเสียหน่อย; ฟ้อง, กล่าวโทษ, เช่น
- หาร ๑ หาน ก. แบ่งส่วนเท่า ๆ กัน (ใช้แก่วิธีเลข). น. เรียกเครื่องหมายรูปดังนี้ ÷ ว่า เครื่องหมายหาร. ๒ หาน น. สิ่งที่เอาไปได้; การนำไป,
- พรรณนาโวหาร น. สำนวนเขียนที่กล่าวเป็นเรื่องราวอย่างละเอียดเพื่อให้ผู้อ่านนึกเห็นเป็นภาพ.
- เจ้าโวหาร คนชอบใช้สํานวนโวหาร ชนชั้นอาจารย์ปรัชญาและศิลปะการพูด ผู้ตัดสินปัญหาในสถานการณ์เฉพาะอย่าง ผู้ศึกษาและถือหลักธรรมจริยา เจ้าคารม
- อุปมาโวหาร น. สำนวนเขียนที่กล่าวถึงเรื่องราวโดยยกสิ่งต่าง ๆ ขึ้นมาเปรียบเทียบประกอบ.
- การเทศนา การให้โอวาท บทสวด การอบรมศีลธรรม ธรรมเทศนา
- ตีโวหาร ตีฝีปาก ตีสํานวน เล่นสํานวน เล่นสําบัดสํานวน