เสียงกึกก้อง คือ
"เสียงกึกก้อง" การใช้"เสียงกึกก้อง" อังกฤษ
- n.
เสียงดังสนั่น หรือดังมาก loud voice/sound/noise ชื่อพ้อง: เสียงอึกทึก, เสียงกัมปนาท
ตัวอย่างการใช้: ยามค่ำคืนมีคนได้ยินเสียงกึกก้องเหมือนเสียงร้องของภูตผีปีศาจถูกกังขังให้หิวโหย
- เส ก. เฉ, ไถล, เช่น เสไปพูดเรื่องอื่น, เชือนแช เช่น เสความ.
- เสีย ๑ ก. เสื่อมลงไป, ทำให้เลวลงไป, เช่น เสียเกียรติ เสียศักดิ์ศรี เสียชื่อ; สูญไป, หมดไป, สิ้นไป, เช่น เสียแขน เสียชีวิต เสียทรัพย์; ชำรุด เช่น
- เสียง น. สิ่งที่รับรู้ได้ด้วยหู เช่น เสียงฟ้าร้อง เสียงเพลง เสียงพูด; ความเห็น เช่น เรื่องนี้ฉันไม่ออกเสียง, ความนิยม เช่น คนนี้เสียงดี
- สี ๑ น. ชื่อเครื่องสำหรับหมุนบดข้าวเปลือกเพื่อทำให้เปลือกแตกเป็นข้าวกล้อง. ก. ถู เช่น ช้างเอาตัวสีกับต้นไม้ ลมพัดแรงทำให้ลำไม้ไผ่สีกัน, ครู่,
- ยง ๑ ว. อร่ามเรือง, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น โฉมยง ยุพยง. ๒ ว. ยั่งยืน, มั่นคง, คงทน, ยืนนาน, เช่น อยู่ยงคงกระพัน ยืนยง. ๓ ว. กล้าหาญ
- งก ๑ ก. แสดงอาการอยากได้หรือไม่อยากเสียจนเกินควร. ว. มีอาการสั่นอย่างคนแก่หรืออย่างกลัวหรืออย่างหนาวมาก. ๒ น.
- กึก ว. เสียงของแข็ง ๆ กระทบกัน; ทันที เช่น หยุดกึก; ( กลอน ) ดังก้อง เช่น กึกฟ้าหล้าหล่มธรณี. ( สมุทรโฆษ ).
- กึกก้อง ว. ดังสนั่น, ดังมาก.
- กก ๑ น. เรียกคำหรือพยางค์ที่มีตัว ก ข ค ฆ สะกดว่า แม่กก หรือ มาตรากก. ๒ น. โคน เช่น กกไม้, ต้น เช่น กกขา, ลำต้น เช่น กกเสา. ๓ น.
- ก้อ ๑ ว. แสดงอาการเจ้าชู้ เช่น ไก่ก้อ. ๒ น. ชนชาวเขาพวกหนึ่ง ในตระกูลทิเบต-พม่า มีอยู่ทางแถบเหนือของไทย คล้ายพวกมูเซอ, อีก้อ ก็เรียก.
- ก้อง ๑ ว. ดังมากอย่างเสียงในที่จำกัดเช่นในโบสถ์, ดังไปได้ไกล เช่น เขาตะโกนก้องมาจากที่สูง. ๒ น. บรรณาการ ในคำว่า จิ้มก้อง. ( จ. ).
- อง น. คำนำหน้านามของบุคคลซึ่งเป็นเชื้อพระวงศ์ของกษัตริย์ญวน เช่น องเชียงสือ องเชียงชุน,
- ส่งเสียงกึกก้อง ส่งเสียงดังลั่น
- เสียงก้อง น. เสียงดังมากอย่างเสียงในที่จำกัด เช่นในโบสถ์; เสียงดังไปได้ไกล.
- การมีเสียงก้อง การมีเสียงดัง
ประโยค
- แล้วตอนที่นักกีฬาเดินออกมากลางสนาม ก็จะมีเสียงกึกก้องจากคนดู
- จะมีหมายสำคัญที่ดวงอาทิตย์ ที่ดวงจันทร์ และที่ดวงดาวทั้งปวง และบนแผ่นดินก็จะมีความทุกข์ร้อนตามชาติต่างๆ ซึ่งมีความฉงนสนเท่ห์เพราะเสียงกึกก้องของทะเลและคลื่น