ไตรสิกขา คือ
สัทอักษรสากล: [trai sik khā] การออกเสียง:
"ไตรสิกขา" การใช้"ไตรสิกขา" อังกฤษ"ไตรสิกขา" จีน
ความหมายมือถือ
- น. สิกขา ๓ คือ ศีล เรียกว่า สีลสิกขา สมาธิ เรียกว่า จิตสิกขา และปัญญา เรียกว่า ปัญญาสิกขา.
- ไต ( สรีร ) น. อวัยวะคู่หนึ่งของคนและสัตว์ อยู่ในช่องท้องใกล้กระดูกสันหลัง ทำหน้าที่ขับของเสียออกมากับน้ำปัสสาวะ; สิ่งซึ่งเป็นก้อนแข็งอยู่ในเนื้อ.
- ไตร ๑ ไตฺร ว. ไกร, ยิ่ง, เช่น ตรัสไตร. ๒ ไตฺร ก. กำหนด, นับ, ตรวจ. ๓ ไตฺร ว. สาม, คำสำหรับนำหน้าสมาสอย่างเดียว (บางทีใช้ว่า ตรี ก็ได้)
- ตร หล่อ
- รส น. สิ่งที่รู้ได้ด้วยลิ้น เช่น เปรี้ยว หวาน เค็ม ฝาด, โดยปริยายหมายถึง ความไพเราะ เช่น กลอนบทนี้ไม่มีรส. ( ป. , ส. ).
- รสิก น. ผู้รู้จักรส, ผู้รู้จักรสในทางกวีและศิลปะต่าง ๆ. ( ป. , ส. ).
- สิ คำประกอบท้ายคำอื่นเพื่อเสริมข้อความให้เด่น ให้ชัด หรือให้สละสลวย เป็นต้น, โดยมากใช้กับกริยาเป็นเชิงบังคับ เชิงชวน หรือรับคำ เป็นต้น เช่น ไปสิ มาสิ,
- สิกขา น. ข้อที่จะต้องศึกษา, ข้อที่จะต้องปฏิบัติ ได้แก่ ศีล เรียกว่า ศีลสิกขา สมาธิ เรียกว่า จิตสิกขา และปัญญา เรียกว่า ปัญญาสิกขา รวมเรียกว่า ไตรสิกขา;
- ขา ๑ น. อวัยวะตั้งแต่ตะโพกถึงข้อเท้า สำหรับยันกายและเดินเป็นต้น (ไทยถิ่นอื่น ขา หมายความตั้งแต่ตะโพกถึงเข่า);
- การสไตรค์ การนัดหยุดงาน การประท้วงหยุดงาน
- ขากรรไตร น. ขากรรไกร.
- ไตรบิวเทเรส ไตรกลีเซอไรด์ไลเปส ไตรอะซิลไกลเซอรอลไลเปส ไลเปส
- ไตรสรณคมน์ -สะระนะคม, -สะระนาคม น. การถึงพระรัตนตรัย คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ว่าเป็นที่พึ่งที่ระลึก.
- ไตรสรณาคมน์ -สะระนะคม, -สะระนาคม น. การถึงพระรัตนตรัย คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ว่าเป็นที่พึ่งที่ระลึก.
- ไต่เขา ปีนเขา
- (ไตรภูมิ) มาจาก หนังสือไตรภูมิพระร่วง ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ ร.ศ. ๑๓๑