(ลอ) คือ
- มาจาก ลิลิตพระลอ แบบเรียน
- คลอ คฺลอ ก. เคียงคู่กันไปอย่างคู่รักหรืออย่างสนิทสนม; ปริ่ม, ใกล้จะไหล, ในคำว่า น้ำตาคลอ หรือ น้ำตาคลอหน่วย; ทำเสียงดนตรีหรือร้องเพลงเบา ๆ ตามไปให้อยู่ในระดับใกล้เคียงกัน เช่น ร้องคลอเสียงดนตรี.
- ผลอ ผฺลอ ว. โบ๋, โหว, เช่น ปากผลอ; ประจบประแจง เช่น พูดผลอ.
- พลอ พฺลอ (ถิ่น-ปักษ์ใต้) ก. ฝานเอาเปลือกแข็งออก.
- ลอก ก. เอาเปลือกหรือผิวออกมาเป็นแผ่น ๆ เช่น ลอกหนังงู ลอกเปลือกปอกระเจา, กิริยาที่เปลือกหรือผิวหลุดออกเป็นแผ่น ๆ เช่น หนังลอก, ตักเอาโคลนหรือเลนเป็นต้นขึ้น เช่น ลอกคลอง ลอกท้องร่อง, ไสหรือแซะให้ลึกเป็นร
- ลอง ๑ น. ของที่ทำรองรับไว้ชั้นใน เช่น ลองพระสุพรรณราช; ส่วนที่ประกอบชั้นนอกของพระโกศหรือโกศ เรียกว่า พระลอง หรือ ลอง. ๒ ก. กระทำอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อให้รู้ว่าเป็นอย่างไร เช่น ลองชิมผลไม้ว่าจะมีรสชาติอย
- ลอด ก. ผ่านเข้าไปในช่อง หรือใต้สิ่งที่มีพื้น หรือสิ่งที่ขวางอยู่เบื้องบน เช่น ลอดราว ลอดอุโมงค์.
- ลอน น. ส่วนที่มีลักษณะสูง ๆ ต่ำ ๆ อย่างลูกคลื่นติดต่อสลับกันไปบนพื้นราบ เช่น ลอนฟูก ลอนสังกะสี, เรียกสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ลอนตาล ลอนผม.
- ลอบ ๑ น. ชื่อเครื่องสานสำหรับดักปลาดักกุ้ง มีหลายชนิด เช่น ลอบนอน ลอบตั้ง ลอบประทุน; (ถิ่น-ปักษ์ใต้) ตาข่ายที่ขึงดักจับนก. ๒ ก. แอบทำโดยไม่ให้ผู้อื่นรู้เห็น เช่น ลอบทำร้าย ลอบเข้าไปในหมู่ข้าศึก.
- ลอม ก. รวมตะล่อมกันขึ้นไปให้เป็นจอม; อาการที่โค้งเข้าหากันเป็นวง เช่น ควายเขาลอม, รอม ก็ว่า. น. เรียกกองฟางกองข้าวเป็นต้นซึ่งมีลักษณะเช่นนั้นว่า ลอมฟาง ลอมข้าว.
- ลอย ก. ทรงตัวอยู่ในอากาศ เช่น บัลลูนลอย ว่าวลอย; เด่นขึ้น, นูนขึ้น, เช่น รูปปลาที่วาดบนพัดมองเหมือนลอยออกมา; ไม่อยู่เป็นหลักแหล่ง, ไม่มีตำแหน่งหรือหน้าที่การงานเป็นหลักแหล่ง, เช่น เป็นพ่อพวงมาลัยลอยไปลอ
- ลอร์ แลสโล โลเวสเตน ปีเตอร์ ลอร์
- ลอวี ออตโต ลอวี
- ลออ ละ- ว. งาม เช่น นวลลออ เอี่ยมลออ. (ข.).
- หลอ ว. ใช้ประกอบกับคำ เหลือ เป็น เหลือหลอ หมายความว่า หลงเหลืออยู่ เช่น รถชนกันอย่างนี้ จะมีอะไรเหลือหลอเล่า, ถ้าใช้ในความปฏิเสธหมายความว่า หมดเกลี้ยง เช่น กินเสียจนไม่มีอะไรเหลือหลอ; เรียกฟันที่มีช่องว
- เลอ บ. เหนือ, ข้างบน, พ้น. ว. ยิ่ง. (ข.).