(ประชุมพงศ.) คือ
- มาจาก ประชุมพงศาวดาร ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ, เลขบอกภาค
- ปร ปะระ-, ปอระ- ว. อื่น, ใช้เป็นบทหน้าสมาส เช่น ปรปักษ์ ปรโลก. ( ป. ).
- ประ ปฺระ ใช้เติมหน้าคำอื่นเพื่อให้คำหนักแน่นขึ้น เช่น ชิด เป็น ประชิด, ท้วง เป็น ประท้วง; คำที่แผลงมาจาก ผ เช่น ผทม เป็น ประทม แล้วแผลง ประ เป็น บรร
- ประชุม ก. มารวมกันหรือเรียกให้มารวมกันเพื่อประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง, มาร่วมพบกันเพื่อปรึกษาหารือ, เช่น ประชุมกรรมการ,
- ระ ก. กระทบเรียดไป เช่น เอาไม้ระรั้วสังกะสี.
- ชุ ( กลอน ) น. ต้นไม้ เช่น กินลูกชุลุเพรางาย. ( ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). ( ต. ชุ ว่า ต้นไม้).
- ชุม ก. มารวมกันจากที่ต่าง ๆ เช่น ชุมพล; ดาษดื่น, มีมาก, เช่น ขโมยชุม ยุงชุม.
- พง ๑ น. ดงหญ้าหรือดงไม้ที่เป็นหมู่ ๆ หรือที่รก ๆ เช่น ป่าดงพงพี รกเป็นพง. ๒ ดู แขม ๑ และ เลา ๑ .
- พงศ พงสะ-, พง น. เชื้อสาย, เทือกเถา, เหล่ากอ, สกุล. ( ส. ; ป. วํส).
- ศ. ศุกร์ วันศุกร์ ศาสตราจารย์ โปรเฟสเซอร์
- (ประชุมพงศ. ภาค ๒) มาจาก ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๒ ฉบับโรงพิมพ์บำรุงนุกูลกิจ พ.ศ. ๒๔๗๐
- ประชุมพงศาวดาร n. เอกสารรวบรวมเรื่องราวของเหตุการณ์เกี่ยวกับประเทศชาติหรือพระมหากษัตริย์ผู้เป็นประมุขของประเทศชาตินั้น , ตัวอย่างการใช้: เขารวบรวมข้อมูลทางประวัติศาสตร์จากประชุมพงศาวดาร
- สมพงศ์ น. การร่วมวงศ์หรือตระกูลกัน, (โหร) วิธีคำนวณว่าหญิงชายที่จะเป็นคู่ครองกันมีชะตาต้องกันหรือไม่.
- (พงศ. ประเสริฐ) มาจาก พงศาวดาร ฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ ในประชุมพงศาวดาร ภาค ๑
- ประชาสัมพันธ์ ก. ติดต่อสื่อสารเพื่อส่งเสริมความเข้าใจอันถูกต้องต่อกัน. น. เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในการนี้.
- (พงศ. ๑๑๓๖) มาจาก พระราชพงศาวดาร ฉบับ จ.ศ. ๑๑๓๖ ในประชุมพงศาวดาร ภาค ๔