เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

(อุปสมบทวิธี) คือ

การออกเสียง:
ความหมายมือถือ
  • มาจาก อุปสมบทวิธีและบุรพกิจสำหรับภิกษุใหม่ พระนิพนธ์ในสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส
  • อุ     น. น้ำเมาชนิดหนึ่ง ใช้ปลายข้าวและแกลบประสมกับแป้งเชื้อแล้วหมักไว้.
  • อุป     pref. คำประกอบหน้าศัพท์ที่มาจากบาลีและสันสกฤต แปลว่า รอง ชื่อพ้อง: รอง
  • อุปสมบท     อุปะสมบด, อุบปะสมบด ก. บวชเป็นภิกษุ. ( ป. อุปสมฺปทา).
  • สม     ๑ ว. เหมาะ, เหมาะกับ, ควรแก่, เช่น บ่าวสาวคู่นี้สมกัน เขาแต่งตัวสมฐานะ แสดงละครได้สมบทบาท เขาต่อสู้กันอย่างสมศักดิ์ศรี เด็กคนนี้แต่งตัวไม่สมวัย,
  • บท     ๑ บด, บดทะ- น. ข้อความเรื่องหนึ่ง ๆ หรือตอนหนึ่ง ๆ เช่น บทที่ ๑ บทที่ ๒; กำหนดคำประพันธ์ที่ลงความตอนหนึ่ง ๆ เช่น โคลง ๔ สุภาพ ๔ บาท เป็น ๑ บท;
  • ทวิ     ทะวิ ( แบบ ) ว. สอง. ( ป. , ส. ).
  • วิ     คำนำหน้าศัพท์ แปลว่า วิเศษ, แจ้ง, ต่าง, เช่น วิสุทธิ วิเทศ. ( ป. , ส. ).
  • วิธ     น. อย่าง, ชนิด. ( ป. ).
  • วิธี     น. ทำนองหรือหนทางที่จะทำ เช่น วิธีทำฝอยทอง วิธีสอนคณิตศาสตร์ เลขข้อนี้ทำได้หลายวิธี; แบบ, แบบอย่าง, เช่น ทำถูกวิธี; กฎ, เกณฑ์; คติ, ธรรมเนียม. (
  • อุปสมบทกรรม    -บดทะกำ น. การบวชเป็นภิกษุ.
  • อุปสมบัน    อุปะ-, อุบปะ- น. ผู้อุปสมบทแล้ว, ภิกษุ, คู่กับ อนุปสัมบัน ได้แก่ผู้ที่ไม่ได้อุปสมบท คือ สามเณรและคฤหัสถ์. (ป. อุปสมฺปนฺน).
  • การอุปสมบท    n. การบวชเป็นภิกษุ ชื่อพ้อง: การบวช, การบรรพชา
  • อุปสัมบัน    อุปะ-, อุบปะ- น. ผู้อุปสมบทแล้ว, ภิกษุ, คู่กับ อนุปสัมบัน ได้แก่ผู้ที่ไม่ได้อุปสมบท คือ สามเณรและคฤหัสถ์. (ป. อุปสมฺปนฺน).
  • รูปสมบัติ    รูบปะสมบัด, รูบสมบัด น. รูปงาม เช่น เขามีทั้งรูปสมบัติ คุณสมบัติ และทรัพย์สมบัติ.
  • ทวิบท    น. สัตว์สองเท้า. (ส.).