เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

กชกร คือ

การออกเสียง:
"กชกร" การใช้
ความหมายมือถือ
  • กดชะกอน
    (กลอน) น. “ดอกบัวคือมือ” คือ กระพุ่มมือ เช่น กชกรต่างแต่งตั้ง ศิรสา. (หริภุญชัย).
  • กช     กด, กดชะ- ( กลอน ; ตัดมาจาก บงกช) น. ดอกบัว เช่น ดุจบัวอันบานชู กชกรรณิกามาศ. ( สมุทรโฆษ ), โดยมากใช้เข้าคู่กับคำ กร เป็น กรกช เช่น
  • ชก     ก. ต่อยด้วยหมัดหรือกำปั้น.
  • กร     ๑ กอน น. ผู้ทำ, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. ( ป. ). ๒ กอน น. มือ (มักใช้ในบทประพันธ์); แขน เช่น
  • บงกชกร    -กดชะกอน (กลอน) น. มือมีรูปอย่างดอกบัวตูม, กระพุ่มมือ, มือ เช่น กระพุ่มบงกชกร. (เพชรมงกุฎ).
  • นักชกรุ่นไลต์เวท    นักชกรุ่นไลต์เฮวี่เวท
  • นักชก    คนพิมพ์ดีด นักต่อยตี เครื่องพิมพ์ดีด แบบตัวพิมพ์ดีด
  • นักชกรุ่นไลต์เฮวี่เวท    นักชกรุ่นไลต์เวท
  • ตีอกชกหัว    ชกหัว ตีโพยตีพาย
  • กรัชกาย    กะรัดชะ-, กะหฺรัดชะ-, กฺรัดชะ- (แบบ) น. ร่างกาย เช่น เจ้างามยามประจงจัดกรัชกาย. (กลบทบัวบานกลีบขยาย). [ป. ก (น้ำ) + รช (ธุลี) + กาย = กายที่เกิดจากธุลีในน้ำ (น้ำ หมายถึง น้ำกาม น้ำอสุจิ, ธุลีในน้ำ ค
  • เภสัชกร    เพสัดชะกอน น. แพทย์ปรุงยา, ผู้ที่ได้รับใบอนุญาตให้เป็นผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาเภสัชกรรม.
  • กรกช    กอระกด (กลอน) น. “ดอกบัวคือมือ” คือ กระพุ่มมือ เช่น ธก็ยอกรกชประนม. (ลอ). ก. ไหว้ เช่น เอกภูธรกรกช ทศนัขสมุชลิต. (ยวนพ่าย). (ดู กช).
  • กรชกาย    กะระชะ- (แบบ) น. ร่างกาย. (ดู กรัชกาย).
  • กรรโชก    กัน- ก. ขู่เอาด้วยกิริยาหรือวาจาให้กลัว, เขียนเป็น กันโชก หรือ กำโชก ก็มี. (แผลงมาจาก กระโชก). (กฎ) น. ชื่อความผิดอาญาฐานข่มขืนใจผู้อื่นให้ยอมให้หรือยอมจะให้ตนหรือผู้อื่นได้ประโยชน์ในลักษณะที่เป็นทร
  • กระโชก    ว. กระแทกเสียง เช่น พูดกระโชก เห่ากระโชก; ทำให้กลัว, ทำให้ตกใจ, เช่น ขู่กระโชก, กระแทก เช่น ม้าก็กระโชกวิ่งหนักเข้า. (ประวัติ. จุล), ลมกระโชกแรง. (ประพาสมลายู).
  • คชกรรม    น. กิจการในทางปฏิบัติอันเกี่ยวกับช้าง เช่น การขี่ การฟันขอ, ประเภทตำราว่าด้วยทางปฏิบัติอันเกี่ยวกับช้าง.
ประโยค
  • ฉันน้ำหนักชกรุ่นนี้ไม่ได้
  • ราวกับเป็นนักชกรุ่นเบา
  • คุณกชกร สุธารักษนนท์