กถามรรค คือ
-มัก
น. ลาดเลาแห่งกถา ได้แก่เรื่องที่แต่งตามอัตโนมัติของผู้แต่งว่าด้วยธรรมนั้น ๆ. (ส. กถา + มรฺค ว่า ทาง).
- กถา กะ- น. ถ้อยคำ, เรื่อง, คำอธิบาย, คำกล่าว. ( ป. ).
- ถา ก. ถลา, โผลง; ลับ, ถูให้คม. (ไทยเดิม ถา ว่า โกน).
- ถาม ก. พูดเพื่อรับคำตอบ.
- มร มะระ-, มอน- น. ความตาย. ( ป. ).
- มรรค มัก, มักคะ-, มันคา น. ทาง; เหตุ, ใช้คู่กับ ผล ว่า เป็นมรรคเป็นผล; ในพระพุทธศาสนา เป็นชื่อแห่งโลกุตรธรรม คู่กับ ผล มี ๔ ชั้น คือ โสดาปัตติมรรค
- กถามรรคเทศนา -มักคะเทดสะหฺนา น. เทศนาฝ่ายกถามรรค, คู่กับ สุตตันตเทศนา. (ส. -เทศนา ว่า การแสดง).
- กถามุข น. เบื้องต้นของเนื้อเรื่อง. (ป.; ส. -มุข ว่า หน้า).
- ซักถาม คาดคั้น ซักฟอก สอบปากคํา สอบสวน ถาม ตั้งคําถาม เสนอคําถาม สอบถาม ไต่ถาม ซักไซ้ ไล่เลียง สัมภาษณ์ ไล่เบี้ย ซัก ซักไซ้ไล่เลียง "สืบสาว ตั้งกระทู้ สนทนา ไต่สวน
- ข้อซักถาม n. คำถาม, ประเด็นหรือเรื่องที่ต้องการคำตอบ ตัวอย่างการใช้: ฝ่ายบริหารของกทม.ได้มีการตอบชี้แจงข้อซักถามของสมาชิกสภากทม.ในทุกๆ ประเด็นจนมีความกระจ่างชัด
- ผู้ซักถาม ผู้ชอบถาม ผู้ซักไซ้ ผู้ทำการสอบสวน ผู้สอบถาม สมาชิกของศาลพระสเปญสมัยก่อนที่มีชื่อเกี่ยวกับการทารุณ เครื่องส่งสัญญาณวิทยุเพื่อให้ตอบทันทีʼ เจ้าหน้าที่ผู้ทำการสอบสวน
- ธรรมกถา น. การกล่าวธรรม, ถ้อยคำที่เป็นธรรม. (ส.; ป. ธมฺมกถา).
- อรรถกถา อัดถะกะถา น. คัมภีร์ที่อธิบายความพระบาลี, คัมภีร์ที่ไขความพระไตรปิฎก. (ส. อรฺถ + กถา; ป. อตฺถกถา, อฏฺกถา).
- มรรค- มัก, มักคะ-, มันคา น. ทาง; เหตุ, ใช้คู่กับ ผล ว่า เป็นมรรคเป็นผล; ในพระพุทธศาสนา เป็นชื่อแห่งโลกุตรธรรม คู่กับ ผล มี ๔ ชั้น คือ โสดาปัตติมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค อรหัตมรรค, ทางที่จะนำไปสู่ความพ
- มรรคา มัก, มักคะ-, มันคา น. ทาง; เหตุ, ใช้คู่กับ ผล ว่า เป็นมรรคเป็นผล; ในพระพุทธศาสนา เป็นชื่อแห่งโลกุตรธรรม คู่กับ ผล มี ๔ ชั้น คือ โสดาปัตติมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค อรหัตมรรค, ทางที่จะนำไปสู่ความพ
- การซักถาม การซักไซ้ การสอบถาม การไต่ถาม การถาม